การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
Database Management System
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
Material requirements planning (MRP) systems
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การทำ Normalization 14/11/61.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
การขอโครงการวิจัย.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model 3602801 ระบบฐานข้อมูล การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์

เนื้อหา แนวความคิดเกี่ยวกับ E-R Model ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี

แนวความคิดเกี่ยวกับ E-R Model แบบจำลองอี-อาร์ (Entity-Relationship Model : E-R Model) เป็นแบบจำลองข้อมูลที่ประยุกต์มาจากแนวคิดเรื่อง รูปแบบเชิงภาษา (Semantic Model) และมีการพัฒนามาเป็น E-R Model โดยเชน (Chen) ในปีค.ศ.1976 และได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน

แนวความคิดเกี่ยวกับ E-R Model 1. ความหมายและความสำคัญของแบบจำลองอี-อาร์ แบบจำลองอี-อาร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบฐานข้อมูล ที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างเอนทิตีหรือสิ่งที่เราต้องการจะจัดเก็บไวในฐานข้อมูล โดยนำเสนอในรูปของของแผนภาพ ที่เรียกว่า อี-อาร์ไดอะแกรม (E-R Diagram) ด้วยการใช้สัญลักษณ์ต่างๆ

แนวความคิดเกี่ยวกับ E-R Model 2. องค์ประกอบของแบบจำลองอี-อาร์ 1) เอนทิตี (Entity) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่เราสนใจต้องการเก็บข้อมูลเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งเอนทิตีอาจเป็นสิ่งที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องได้สัมผัสได้ 2) แอททริบิวท์ (Attribute) หมายถึง ข้อมูลที่แสดงคุณลักษณะหรือคุณสมบัติต่างๆ ของเอนทิตีหนึ่งๆ

แนวความคิดเกี่ยวกับ E-R Model 3) คีย์ (Key) คือ ชุดของแอททริบิวท์ที่เล็กที่สุดที่ใช้อ้างถึงระเบียนต่างๆ ในเอนทิตีที่ต้องการอ้างอิง โดยแอททริบิวท์ที่แทนค่าคีย์จะมีค่าซ้ำกันไม่ได้ (unique) ทุกเอนทิตีต้องมีคีย์หลักเสมอ คีย์หลักมีคุณสมบัติพิเศษต่างจากคีย์อื่นๆ คือ มีค่าเป็นนัล (null character) ไม่ได้

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี (Relationship) 1. ระดับชั้นของความสัมพันธ์ (Relationships Degree) 1) ความสัมพันธ์เอนทิตีเดียว (Unary Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตีหนึ่งๆ ที่มีความสัมพันธ์กับตัวมันเอง

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี (Relationship) 1. ระดับชั้นของความสัมพันธ์ (Relationships Degree) 2) ความสัมพันธ์สองเอนทิตี (Binary Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ของเอนทิตีสองเอนทิตีที่มีความสัมพันธ์กัน

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี (Relationship) 1. ระดับชั้นของความสัมพันธ์ (Relationships Degree) 3) ความสัมพันธ์สามเอนทิตี (Ternary Relationships) หมายถึง เอนทิตีสามเอนทิตีที่มีความสัมพันธ์กัน

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี (Relationship)

สัญลักษณ์ที่ใช้ใน E-R Model สัญลักษณ์ที่ใช้ในแผนภาพ E-R Diagram ที่ใช้ในการจำลองแบบข้อมูลมีหลายรูปแบบในที่นี้ขอยกตัวอย่าง 2 รูป ได้แก่ Chen Model และ Crow’s Foot Model

สัญลักษณ์ที่ใช้ใน E-R Model

สัญลักษณ์ที่ใช้ใน E-R Model

ขั้นตอนการออกแบบ E-R Model ในการออกแบบ ER-Diagram มีด้วยกันหลายขั้นตอนสำหรับใน 5 ขั้นตอนแรกเป็นการออกแบบทางด้านโครงสร้างพื้นฐานของโมเดล ได้แก่ เอนทิตี รีเลชันชิป คีย์หลัก คีย์สำรอง คีย์ภายนอก และกฎเกณฑ์พื้นฐาน จากนั้นจึงเริ่มเพิ่มรายละเอียดในระดับที่ผู้ใช้มองเห็น (User View) และรวมรายละเอียดเหล่านั้นเข้าด้วยกัน จึงได้เป็นโมเดลข้อมูลเชิงตรรกะที่สมบูรณ์

ขั้นตอนการออกแบบ E-R Model 1. การกำหนดเอนทิตีหลัก ออกแบบฐานข้อมูลโดยเริ่มจากการนำ Requirement ในข้างต้นที่กล่าวมาแล้ว การกำหนดเอนทิตีนั้นเป็นงานที่ยาก วิธีการให้พิจารณาข้อมูลทั้งหมดที่มี และจัดกลุ่มของข้อมูล โดยดูจากค่าและความหมายถ้าสามารถรวมกลุ่มกันได้ก็ให้รวมเข้าไว้ในเอนทิตีเดียวกัน แล้วนำไปกำหนดชื่อและความหมายลงในพจนานุกรมข้อมูล และเขียนลงโมเดลข้อมูลด้วยการตั้งชื่อไม่ควรเกิน 20 ตัวอักษร

ขั้นตอนการออกแบบ E-R Model 2. การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี กำหนดชื่อ ความหมาย รีเลชันชิป ทิศทาง และขนาดอัตราส่วนที่เกิดรีเลชันชิปนั้นๆ พร้อมทั้งบันทึกลงในพจนานุกรมข้อมูลด้วยสำหรับชื่อก็ไม่ควรเกิน 20 ตัวอักษร จากนั้นสามารถแบ่งกลุ่มรีเลชันชิประหว่างเอนทิตีได้เรียบร้อยแล้ว พบว่า รีเลชันชิปแบบ 1 : Many เป็นสิ่งที่เราต้องสนใจมากที่สุด เพราะเป็นตัวทำให้การสร้างฐานข้อมูลเชิงตรรกะมีความยุ่งยากซับซ้อนมากขึ้น

ขั้นตอนการออกแบบ E-R Model 3. การกำหนดคีย์หลักและคีย์รอง การเพิ่มข้อมูลที่เรียกว่า แอททริบิวท์ลงในทุกๆ เอนทิตี สิ่งที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ เอนทิตีที่เป็นซับไทป์จะต้องมี คีย์หลักอันเดียวกับเอนทิตีที่เป็นซุปเปอร์ไทป์ของมัน หลังจากกำหนดแล้วให้ตั้งชื่อระบุในโมเดลข้อมูลเชิงตรรกะพร้อมทั้งใส่ในพจนานุกรมข้อมูลด้วย การตั้งชื่อควรกำหนดสั้นและง่าย โดยสามารถใช้ชื่อย่อก็ได้ และควรหลีกเลี่ยงการตั้งชื่อแอททริบิวท์ของสองสิ่งที่ไม่เหมือนกันด้วยชื่อเดียวกัน

ขั้นตอนการออกแบบ E-R Model 4. การกำหนดคีย์ภายนอก เมื่อกำหนดคีย์หลักและคีย์รองได้แล้ว ให้กำหนดคีย์ภายนอกสำหรับเอนทิตีที่มีรีเลชันชิปกันทุกอัน คีย์ภายนอก คือ แอททริบิวท์ในเอนทิตีระดับลูกที่แทนคีย์หลักของเอนทิตีระดับพ่อแม่ เพื่อใช้ในการอ้างถึงระเบียนในเอนทิตีระดับพ่อแม่และแสดงถึงรีเลชันชิประหว่างเอนทิตีต่างๆ

ขั้นตอนการออกแบบ E-R Model 5. พิจารณาขอบเขตค่าโดเมนของแอททริบิวท์ การพิจารณาขอบเขตค่าโดเมนของแอททริบิวท์ให้ทำการกำหนดโดเมนของแอททริบิวท์ทุกตัวในเอนทิตีแล้วบันทึกในพจนานุกรมข้อมูล

ขั้นตอนการออกแบบ E-R Model กลุ่มค่าที่ถูกต้องเป็นไปได้สำหรับแอททริบิวท์แต่ละตัว ได้แก่ 1. ชนิดของข้อมูล (Data Type) เช่น จำนวนเต็ม วันที่ ตัวอักษร และทศนิยม เป็นต้น 2. ความยาว (Length) เช่น 5 หลัก หรือ 35 ตัวอักษร 3. รูปแบบข้อมูล (Format) เช่น dd/mm/yy (วันที่)

ขั้นตอนการออกแบบ E-R Model 4. ช่วงของข้อมูลหรือข้อกำหนดอื่นๆ (Range,Constraints) 5. ความหมาย (Meaning) อธิบายความหมายของ แอททริบิวท์นั้นว่าคืออะไร 6. ความเป็นหนึ่งเดียว (Uniqueness) ต้องมีค่าเป็นหนึ่งเดียว 7. ความเป็นนัล (Null support) อนุญาตให้เป็นนัลได้หรือไม่ ค่าโดยปริยาย (Default value) กำหนดให้มีค่าเป็น 0