แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพสธร.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การบริหารจัดการองค์การ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
FA Interview.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์ บทที่ 1. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

ภารกิจที่ท้าทายขององค์การในยุคปัจจุบัน สภาพแวดล้อมทั่วไป สังคม สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ เศรษฐกิจ ลูกค้าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคู่แข่ง แรงงานคู่ค้า ผู้ส่งวัตถุดิบ องค์การ ชุมชน การเมือง เทคโนโลยี ต่างประเทศ

การบริหารทรัพยากรบุคคล ทำไมต้องบริหาร การบริหารทรัพยากรบุคคลเกี่ยวข้องกับงานของเราอย่างไร แนวโน้มของการบริหารทรัพยากรบุคคลของภาคราชการในอนาคต

บุคลากร/ทรัพยากรมนุษย์ : กุญแจสู่ความสำเร็จขององค์การ องค์การต้องอาศัยบุคลากรที่มีสมรรถนะที่เหมาะสมกับวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายขององค์การ กล่าวคือ บุคลากรจะต้องมีความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะต่างๆที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานยังต้องมีความร่วมมือร่วมใจและทำงานเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ เงิน วัตถุดิบ เครื่องจักร การตลาดและการจัดการ

เครื่องมือสำคัญในการเพิ่มประสิมธิภาพขององค์การ การจัดการบุคลากร /ทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการเกี่ยวกับการสรรหา การคัดเลือก การพัฒนา การจูงใจ การรักษาและการยุติธรรมการจ้างของบุคลากร

วัตถุประสงค์ของการจัดการบุคลากร/ทรัพยากรมนุษย์ วัตถุประสงค์ทีมีต่อสังคม (Societal objective) องค์การต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมและปฏิบัติต่อบุคลากรอย่างมีจริยธรรม เช่น ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ที่มีต่อองค์การ(Organizational Objective) องค์การจะต้องตระหนักว่าการจัดบุคลากรเป็นสิ่งที่ช่วยประสิทธิภาพและสามารถให้บรรลุเป้าหมายขององค์การได้ วัตถุประสงค์ที่มีต่อภาระหน้าที่ (Functional Objective) บุคลากรจะต้องปฏิบัติภารกิจของตนเพื่อตอบสนองความต้องการขององค์การ วัตถุประสงค์ที่มีต่อบุคลากร (Personal Objective) การช่วยให้บุคลากรสามารถบรรลุเป้าหมายส่วนตัวเพื่อเป็นการจูงใจและรักษษบุคลากรที่มีคุณภาพไว้

ภารกิจของการจัดการบุคลากร/ทรัพยากรมนุษย์ การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร คือ การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรทีมีความเหมาะสมกับตำแหน่งงาน การสรรหาบุคลากรคือ กระบวนการของการค้นหาและจูงใจบุคคลที่มีความสามารถให้เข้ามาสมัครงานกับองค์การ การพัฒนาบุคลากร หมายถึง การดำเนินการอย่างมีระบบ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนและปรับปรุงให้บุคลากรมีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการทำงาน เช่น การปฐมนิเทศบุคลากร การฝึกอบรม การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาอาชีพ

ภารกิจของการจัดการบุคลากร/ทรัพยากรมนุษย์ การกระตุ้นจูงใจบุคลากร คือ การจูงใจบุคลากรให้มีความกระตือรือร้นทุ่มเทพลังกายและใจให้แก่การทำงานเพื่อความสำเร็จขององค์การ เช่น การบริหารค่าตอบแทน สวัสดิการ การให้รางวัล การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบำรุงรักษาบุคลากร เพื่อให้บุคลากรมีความพึงพอใจในการทำงาน มีความปลอดภัยในการทำงาน การจัดระบบการติดต่อสื่อสารภายในองค์การที่ดี การยุติการจ้างงาน เนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น การเกษียณอายุ การลาออก การเลิกสัญญาจ้าง

แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการจัดการบุคลากร/ทรัพยากรมนุษย์ การเน้นคุณค่าของบุคลากร ผู้บริหารจะต้องมีความเชื่อว่าบุคลากรขององค์การคือ ทรัพยากรอันมีค่าที่จะต้องรักษา สนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนา การมีส่วนร่วมของฝ่ายบริหาร องค์การจะต้องยึดถือว่าการจัดการบุคลากรเป็นภาระหน้าที่ของหัวหน้างานและผู้บริหารทุกคน เน้นการทำงานเชิงรุก จะต้องมีวิสัยทัศน์สามารถคาดการณ์ปัญหาได้ล่วงหน้า เน้นแนวคิดแบบระบบ ผู้บริหารจะต้องตระหนักว่าทรัพยากรมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่

บทบาทของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ เน้นคน ผู้เชี่ยวชาญด้านบุคลากร ผู้นำการเปลี่ยนแปลง มุ่งเน้น การทำงานปกติ มุ่งเน้น กลยุทธ์ ผู้เชี่ยวชาญงานบริหาร หุ้นส่วนเชิงกลยุทธ์ เน้นกระบวนการ

บทบาทของฝ่ายทรัยพยากรมนุษย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริการ คือ การมุ่งเน้นการออกแบบวิธีการทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการให้บริการ ผู้เชี่ยวชาญด้านบุคลากร คือบทบาทที่เน้นการก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของพนักงานแต่ละคน รวมทั้งการสร้างความรู้สึกผูกพันต่อองค์การและพนักงานมีแรงจูงใจทุ่มเทให้แก่องค์การ หุ้นส่วนเชิงกลยุทธ์ การเน้นการกำหนดกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติ รวมการวางแผนกลยุทธ์ และการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง บทบาทด้านการบริหารความเปลี่ยนแปลงโดยร่วมรับผิดชอบในการทำให้องค์การมีสมรรถนะที่ดีขึ้น

การจัดองค์การสำหรับการจัดการบุคลากร/ทรัพยากรมนุษย์ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด ผู้จัดการฝ่ายบริหาร ผู้จัดการฝ่ายผลิต หัวหน้าแผนกบัญชีและการเงิน หัวหน้าแผนก ฝ่ายบุคคล หัวหน้าแผนกธุรการ เจ้าหน้าที่แผนก เจ้าหน้าที่แผนก เจ้าหน้าที่แผนก

การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร:ภารกิจที่สำคัญของการจัดการบุคลากร กิจกรรม ร้อยละ งบประมาณ ร้อยละของ เวลาดำเนินการ การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร 19 15 การออกแบบ/บริหารโครงการสิทธิประโยชน์ของพนักงาน 10 แรงงานสัมพันธ์ 13 18 การฝึกอบรม 11 9 การออกแบบ/บริหารโครงการจ่ายตอบแทน สุขภาพและความปลอดภัยในการทำงาน 8 6

การสรรหาและการคักเลือกบุคลากร:ภารกิจที่สำคัญของการจัดการบุคลากร กิจกรรม ร้อยละ งบประมาณ ร้อยละของ เวลาดำเนินการ การออกแบบ/บริหารโครงการตามข้อกำหนดของรัฐบาล 6 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน 5 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 4 กิจกรรมอื่นๆ 10 11

ความสอดคล้องกันระหว่างองค์การ งานและบุคคล บุคลล ผลลัพธ์ มีแรงจูงใจในการทำงาน ปฏิบัติงานได้ดี พึงพอใจในงาน ผูกพันต่อองค์การ ความสอดคล้อง องค์การ งาน

ความสัมพันธ์ระหว่างแผนกลยุทธ์ขององค์การกับกลยุทธ์ ด้านทรัพยากรมนุษย์ สิ่งที่มุ่งมั่น กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมที่ต้องทำ ผู้นำด้านราคา ประสิทธิภาพ การวางแผนบุคลากรระยะยาว การสรรหาและเลื่อนตำแหน่ง การควบคุมค่าใช้จ่าย การสร้างเสริมทักษะให้พนักงานปัจจุบัน การฝึกอบรมอย่างเข้ม มุ่งเน้นให้พนักงานมีความเชี่ยวชาญในงานเฉพาะด้าน การว่าจ้างและฝึกอบรมพนักงาน

ความสัมพันธ์ระหว่างแผนกลยุทธ์ขององค์การกับกลยุทธ์ ด้านทรัพยากรมนุษย์ สิ่งที่มุ่งมั่น กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมที่ต้องทำ สร้างความแตกต่าง ความเติบโต การวางแผนบุคลากรระยะกลาง การสรรหาจากภายนอกองค์การ นวัตกรรม การว่าจ้างบุคลากรที่มีสมรรถนะที่ต้องการ ว่าจ้างและฝึกอบรมเพื่อให้มีทักษะ การกระจายอำนาจการตัดสินใจ งานและพนักงานมีความยืดหยุ่นและมีขอบเขตการทำงาน

กระบวนการการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร การดำเนินการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร องค์การจำเป็นต้องมีข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ 2 ประการคือ การวิเคราะห์งาน ( job analysis ) การวางแผนกลยุทธ์บุคลากร/ทรัพยากรมนุษย์ (personnel/human resource planning)

การยุติการจ้างบุคลากร สรุป การจัดการบุคลากรเป็นกระบวนการเกี่ยวกับการสรรหาคัดเลือก การพัฒนา การจูงใจ การรักษาและยุติการจ้างบุคลากรขององค์การ ในความสำคัญของการจัดการบุคลากร การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในองค์การ ภายใตจริยธรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ประกอบด้วย 5 ประการคือ การสรรหาคัดเลือก การพัฒนา การจูงใจ การรักษา การยุติการจ้างบุคลากร