กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ผลการดำเนินงานในภาพรวมของ โครงการ TO BE NUMBER ONE ประจำปี 2559
งบประมาณ ที่ได้รับ (ลบ.)
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
การดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
สร้างเครือข่ายในชุมชน
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
ผลงานตามโครงการพระราชดำริ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด KPI Template ปี 2560 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด

กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ จำนวน 2 ตัวชี้วัด 1) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมิน โอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 2) อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ลดลง งานสุขภาพจิต จำนวน 1 ตัวชี้วัด 1) ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป งานยาเสพติดและ TO BE NUMBER ONE จำนวน 1 ตัวชี้วัด 1) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา ตามเกณฑ์กำหนด งานควบคุมป้องกันการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จำนวน 2 ตัวชี้วัด 1) ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป 2) ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป (ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี)

ตัวชี้วัด เกณฑ์ Baseline แหล่งข้อมูล ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ≥ ร้อยละ 90 ร้อยละ 62.75 รพ.ทุกแห่ง มาตรการ ลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด พัฒนาแนวทางการคัดกรองความเสี่ยง กิจกรรมดำเนิน คัดกรอง CVD Risk ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับยา 84.29 65.36 98.04 83.81 80.99 50.71 65.16 91.07

มาตรการ ตัวชี้วัด เกณฑ์ Baseline แหล่งข้อมูล HDC อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ HT = 475 คนต่อแสนประชากร DM = 260 คนต่อแสนประชากร HT = 477 คน ต่อแสนประชากร DM = 262 คน ต่อแสนประชากร HDC HT = 485.23 DM = 373.66 HT =521.032 DM = 239.22 มาตรการ ลดอัตราของผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ลดอัตราของผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน กิจกรรมดำเนิน เฝ้าระวังพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เป็นผู้ป่วยรายใหม่ ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่อง HT = 470.09 DM = 309.30 HT = 461.72 DM = 238.31 HT = 471.76 DM = 247.82 HT = 72.49 DM = 70.73 HT = 566.13 DM = 257.90 HT = 713.18 DM = 434.22 HT = 603.11 DM = 227.90

วัยทำงาน : โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน ที่พึงประสงค์ในชุมชน วัยทำงาน : โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน ที่พึงประสงค์ในชุมชน เป้าหมาย ร้อยละ 54 ของวัยทำงานอายุ 30- 44ปี มีดัชนีมวลกายปกติ สส. Health Leader ของวัยทำงาน มาตรการ ลดพฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค กิจกรรมดำเนินงาน พัฒนาและขยายชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม,ตำบลจัดการสุขภาพ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานคลินิก DPAC / คลินิก NCD

มาตรการ ตัวชี้วัด เกณฑ์ Baseline แหล่งข้อมูล อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน 16.12 ต่อประชากรแสนคน แบบรายงาน 19 สาเหตุฯ มาตรการ ลดอัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ ทางถนน กิจกรรมดำเนิน วิเคราะห์จุดเสี่ยงอย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ ทุก 3 เดือน มาตรการชุมชนผ่านระบบสุขภาพอำเภอ ( DHS) ใช้หลัก 5 ส (สารสนเทศ สหสาขา สุดเสี่ยง ส่วนร่วม และสุดคุ้ม) เป้าหมายอย่างน้อย 1 อำเภอ/จังหวัด 12.58 17.32 19.74 15.10 10.67 23.84 15.11

กิจกรรมดำเนิน มาตรการ ตัวชี้วัด เกณฑ์ Baseline แหล่งข้อมูล ร้อยละของเด็กไทยที่มีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป ≥ ร้อยละ 70 ร้อยละ 77.1 สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต มาตรการ เด็กวัยเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหา พฤติกรรม อารมณ์ การเรียนรู้ ได้รับการดูแลช่วยเหลือ กิจกรรมดำเนิน คัดกรองความฉลาดทางอารมณ์เด็กที่กำลังศึกษาอยู่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) นำเด็กวัยเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหา มาพัฒนาพฤติกรรม อารมณ์และ การเรียนรู้ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ

กิจกรรมดำเนิน มาตรการ ตัวชี้วัด เกณฑ์ Baseline แหล่งข้อมูล ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ≤ ร้อยละ 17.8 ร้อยละ 17.8 สำนักงานสถิติแห่งชาติ/HDC มาตรการ ลดอัตราการสูบบุหรี่ในประชากรไทยที่นำไปสู่การเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการเสียชีวิต กิจกรรมดำเนิน ขับเคลื่อนการดำเนินงานใน อปท. ( ตำบลจัดการสุขภาพ ) ส่งเสริม สนับสนุนเยาวชน/พนักงานเจ้าหน้าที และร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังการสูบบุหรี่ ป้องกันนักสูบหน้าใหม่โดยเฉพาะเยาวชน(Gen Z) ในพื้นที่ทั้งในโรงเรียน/ สถานศึกษา และชุมชน

กิจกรรมดำเนิน มาตรการ ตัวชี้วัด เกณฑ์ Baseline แหล่งข้อมูล ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ≤ ร้อยละ 6.81 ร้อยละ 6.95 สำนักงานสถิติแห่งชาติ/HDC มาตรการ ลดจำนวนการบริโภคแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในจังหวัดสระแก้ว กิจกรรมดำเนิน สำรวจและเก็บข้อมูลการบริโภคแอลกอฮอล์ รายงานผลการจำหน่ายแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป

มาตรการ กิจกรรมดำเนิน ตัวชี้วัด เกณฑ์ Baseline แหล่งข้อมูล ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 92 ร้อยละ 90 ฐานข้อมูลบำบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.) มาตรการ ประเมินผลการหยุดเสพยาเสพติดของผู้ป่วยยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษาหลังจำหน่าย 3 เดือน กิจกรรมดำเนิน ให้การบำบัดรักษาในระบบสมัครใจแก่ผู้ป่วยยาเสพติด จัดเก็บและบันทึกข้อมูลผู้ป่วยยาเสพติดในฐานข้อมูลบำบัดรักษายาเสพติด ของประเทศ (บสต.)