กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ “ขับเคลื่อนคุณธรรม และการต่อต้านทุจริต” เรื่อง การป้องกันการทุจริต และผลประโยชน์ทับซ้อน วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09.00 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมดาวเรือง ชั้น 3 อาคารอำนวยการ ศูนย์อนามัยที่ 5 กรมอนามัย
กรณีผลประโยชน์ทับซ้อน 1. เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริต กรณีผลประโยชน์ทับซ้อน
แสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย คำว่า “ ทุจริต ” หมายความว่า ..... แสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย สำหรับตนเองหรือผู้อื่น คำว่า “ ทุจริตต่อหน้าที่ ” หมายความว่า..... อาศัยอำนาจหน้าที่แสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมาย สำหรับตนเองหรือผู้อื่น การทุจริต หรือการทุจริตต่อหน้าที่
การทุจริตในภาครัฐ o 1. กฎหมายอาญา ม. 157, ม.147-151 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตในภาครัฐ คือ 1. กฎหมายอาญา ม. 157, ม.147-151 ฐาน เจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบหรือโดยทุจริต 2. พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 85(1) ฐานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ หรือโดยทุจริต 3. กฎหมายคณะกรรมการ ป.ป.ช., ป.ป.ท. หลักการ... เจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบหรือโดยทุจริต, ทำให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ การทุจริตในภาครัฐ o
o มาตรา 157 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้น การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บ. ถึง 200,000 บ. หรือทั้งจำทั้งปรับ “ มาตรา 157 เป็นบททั่วไป ” “ มาตราอื่นๆ เป็นบทเฉพาะ เช่น มาตรา 147-151 ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึง 20 ปี หรือจำคุกตลอด ชีวิตหรือปรับตั้งแต่100,000 บ. ถึง 400,000 บ. หรือ ทั้งจำทั้งปรับ ” o
ผลประโยชน์ทับซ้อน Conflict of Interest ผลประโยชน์ทับซ้อน ผลประโยชน์ขัดกัน การขัดแย้งกันระหว่างประโยชน์ ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม (ป.ป.ช.) ผลประโยชน์ทับซ้อน
ความหมายและลักษณะของ Conflict of Interest 1. ดร. วิทยากร เชียงยืน หมายถึงผลประโยชน์ที่ทับซ้อนกันระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตัว และผลประโยชน์ส่วนรวมของผู้มีอำนาจหน้าที่ ที่ ต้องตัดสินใจ ทำงานเพื่อส่วนรวม ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ ของรัฐ เจ้าหน้าที่ขององค์กรภาคธุรกิจเอกชน และเจ้า หน้าที่ภาคประชาสังคม (Civil Society) ผลประโยชน์ดังกล่าว เป็นสิ่งจูงใจทำให้กระทบต่อการ ตัดสินใจ หรือการสั่งการของเจ้าหน้าที่ ไม่ตรงไปตรงมา ไม่เป็นธรรม ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ
หมายถึง สถานการณ์ที่บุคคล หรือหน่วยงาน ไม่ว่า ความหมายและลักษณะของ Conflict of Interest 2. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี หมายถึง สถานการณ์ที่บุคคล หรือหน่วยงาน ไม่ว่า จะเป็นเอกชน หรือรัฐบาล อยู่ในฐานะที่จะใช้ตำแหน่งหน้าที่ ทางการหรือโดยอาชีพ แสวงหาผลประโยชน์ให้กับตัวเอง หรือหน่วยงานของตัวเองได้ สรุปความหมาย คือการอาศัยอำนาจหน้าที่ของตน เพื่อแสวงหาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น คำว่า “ ประโยชน์ ” จะชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่ก็ได้
ความหมายและลักษณะของ Conflict of Interest 3. Dr. Michael McDonald นักวิชาการด้านจริยธรรม มหาวิทยาลัย British Columbia หมายถึง สถานการณ์ที่บุคคล เช่น เจ้าหน้าที่รัฐ ลูกจ้าง หรือนักวิชาชีพ มีผลประโยชน์ส่วนตัว หรือส่วน บุคคลมากพอ จนเห็นได้ว่ากระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ อย่างตรงไปตรงมา(ในภาวะวิสัยหรือเป็นกลาง) คือผลประโยชน์ส่วนตัวไปขัดแย้งกับการปฏิบัติหน้าที่ ทำให้มีการแทรกแซงการตัดสินใจ หรือใช้วิจารณญาณใน ทางหนึ่งทางใดที่มิชอบ
แบ่งองค์ประกอบของผลประโยชน์ทับซ้อน ออกเป็น 3 ประการ ดร. ไมเคิล แม็คโดนัลด์ (Dr. Michael McDonald) แบ่งองค์ประกอบของผลประโยชน์ทับซ้อน ออกเป็น 3 ประการ 1. เป็นประเด็นเกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนบุคคล หรือผลประโยชน์ ส่วนตัว ซึ่งส่วนใหญ่มักเกี่ยวพันกับเงินและทรัพย์สิน หรือผลประ โยชน์ในรูปแบบอื่นๆ ที่ทำให้ผู้รับพึงพอใจ 2. เป็นเรื่องของการใช้อำนาจหน้าที่และการใช้ดุลพินิจในการตัด สินใจ ดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว 3. เป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยใช้สถานะและขอบเขตอำนาจหน้าที่ ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือพนักงาน ของรัฐ โดยขาดจริยธรรมพื้นฐานในวิชาชีพของตน /
สรุป ความหมายและลักษณะของ Conflict of Interest 1 2 3 4 ผลประโยชน์ทับซ้อน ทุจริต Conflict of Interest
หมายถึง การกระทำหรือพฤติการณ์ ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ สรุปความหมายของ Conflict of Interest ในภาครัฐ ความหมาย....ของวิทยากร หมายถึง การกระทำหรือพฤติการณ์ ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ กระทำโดยมิชอบ และกระทำในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อ แสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองหรือผู้อื่น และผลประโยชน์นั้น อาจกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อความถูกต้อง เป็นธรรม สรุป องค์ประกอบความผิด 1. เป็น หรือเคยเจ้าหน้าที่ของรัฐ 2. กระทำโดยมิชอบ เพื่อผลประโยชน์ตนเองหรือผู้อื่น 3. ผลประโยชน์ จะชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย ก็ได้ 4. ผลประโยชน์นั้น อาจกระทบต่อการตัดสินใจ เพื่อ ความถูกต้อง เป็นธรรม
ตัวอย่าง Conflict of Interest ในภาครัฐ 1. การนำยาและเวชภัณฑ์ ไปจำหน่ายบน รพ.สต. - การกระทำไม่ชอบ แต่ผลประโยชน์ที่ได้ไป ชอบ 2. แพทย์ขายประกันชีวิต ให้ผู้ป่วย ขณะตรวจรักษาผู้ป่วย 3. ผอ. โรงพยาบาลทั่วไป, เภสัชกร เป็นผู้จัดการบริษัทขายยา 4. ผอ.รพช. จ่ายยาที่มีส่วนผสมของสารเสพติด ไปใช้ที่คลินิกตน - การกระทำไม่ชอบ และผลประโยชน์ที่ได้ไป ก็ไม่ชอบ 5. จัดโครงการอบรมนอกเขตจังหวัด แต่มีรายการไปเที่ยวด้วย - การกระทำไม่ชอบ และผลประโยชน์ที่ได้ไป ก็ไม่ชอบ /
จากความหมายของ Conflict of Interest 1. การแสวงหาประโยชน์ 2. การรับผลประโยชน์ 3. การใช้อิทธิพลเรียกผลประโยชน์ 4. การใช้ทรัพย์สินของทางราชการ 5. การใช้ข้อมูลลับของทางราชการ 6. การรับทำงานนอกองค์กร 7. การทำงานหลังจากการออกจากตำแหน่ง /
จากความหมายของ Conflict of Interest สรุปได้ 2 กรณี คือ 1. พฤติการณ์ หรือการกระทำ เป็นเรื่องของ ผลประโยชน์ทับซ้อน ในตัวเอง 2 . พฤติการณ์ หรือการกระทำ ไม่ใช่เรื่องของ ผลประโยชน์ทับซ้อน ในตัวเอง แต่กฎหมาย กำหนดให้เป็นเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน เช่น - ผู้อำนวยการ ร.พ. ซื้อของจากร้านน้องสาว - การทำงานในบริษัทที่ตนเคยมีอำนาจ ควบคุม กำกับ หลังจากออกจากงานไปแล้วไม่ถึง 2 ปี
1. โทษทางวินัย....ร้ายแรง, ไม่ร้ายแรง 2. โทษทางอาญา โทษสำหรับผู้กระทำผิด 1. โทษทางวินัย....ร้ายแรง, ไม่ร้ายแรง 2. โทษทางอาญา 3. โทษทางละเมิด(ทางแพ่ง)....การชดใช้ค่าเสียหาย 4. โทษทางปกครอง....ปรับเงินเดือน ผู้กระทำผิดจะได้รับโทษตามกฎหมายใด เพียงใด ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริง เป็นกรณีๆ ไป/ โทษ...สำหรับผู้กระทำผิด ในเรื่องทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อน
เป็นผู้ปฎิบัติงานให้รัฐตามอำนาจหน้าที่ สถานะที่ 2 เจ้าหน้าที่ของรัฐกับรัฐ มีความสัมพันธ์กัน 2 สถานะ สถานะที่ 1 เป็นผู้ปฎิบัติงานให้รัฐตามอำนาจหน้าที่ หรือเป็นตัวแทนของรัฐ สถานะที่ 2 เป็นเอกชน หรือบุคคลทั่วไป การพิจารณาว่าการกระทำของเจ้าหน้าที่ มีผลประโยชน์ ทับซ้อนหรือไม่ ต้องพิจารณาว่าเขาทำให้สถานะใดและมี มีเจตนากระทำเพื่อผลประโยชน์ทับซ้อนหรือไม่ ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับรัฐ
กฎหมาย กับ ผลประโยชน์ทับซ้อน(Conflict of Interest) 1. เป็นแนวคิดและหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย “ ผู้ดำรงตำแหน่งสาธารณะ ต้องไม่มีผลประโยชน์ ทับซ้อน ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ” 2. ประเทศไทยมีหลักการนี้ ตั้งแต่รัฐธรรมนูญ ปี 2492 “ คือได้บัญญัติห้าม สว. และ สส. เป็นผู้จัดการ กรรมการ ที่ปรึกษา ในห้างหุ้นส่วน หรือ บริษัท ที่รัฐหรือส่วนราชการ เป็นผู้ลงทุนหรือถือหุ้น ”
กฎหมายไทย กับ ผลประโยชน์ทับซ้อน มีทั้งกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน ที่ห้ามเจ้าหน้าที่ หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ มีผลประโยชน์ทับซ้อน กฎหมายเอกชน เช่น 1. ส่วนได้เสียของผู้แทนนิติบุคคลกับนิติบุคคล มาตรา 75 ถ้าประโยชน์ของนิติบุคคลขัดกับประโยชน์ ของผู้แทนนิติบุคคล ผู้แทนจะเป็นผู้แทนในการนั้นมิได้ 2. ส่วนได้เสียของผู้ขายทอดตลาด มาตรา 511 ห้ามผู้ขายทอดตลาดเข้าสู้ราคา หรือใช้ ให้ผู้หนึ่งผู้ใดเข้าสู้ราคา
3. ส่วนได้เสียของกรรมการและผู้แทนในบริษัทจำกัด มาตรา 1168 ห้ามกรรมการหรือผู้แทนกรรมการ ประกอบการค้าใดๆ อันมีสภาพเป็นอย่างเดียวกันและเป็น การแข่งขันกับการค้าขายของบริษัทนั้น 4. ประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจปกครองขัดกับประโยชน์ของผู้เยาว์ มาตรา 1575 ถ้ากิจการใด ประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจ ปกครองหรือประโยชน์ของคู่สมรสหรือบุตร ของผู้ใช้อำนาจ ปกครองขัดกับประโยชน์ของผู้เยาว์ ผู้ใช้อำนาจปกครอง ต้องได้รับอนุญาตจากศาล
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี 2550 กฎหมายมหาชน (กฎหมายที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ) เช่น 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี 2550 ส่วนได้เสียของนักการเมือง คือ สส., สว., นายกฯ, รัฐมนตรี, รวมทั้งคู่สมรสและบุตรของบุคคลดังกล่าว มาตรา 265 – 269 ไม่ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ในหน่วยงาน ของรัฐ, ไม่รับ ไม่แทรกแซง ไม่ก้าวก่าย การเข้ารับสัมปทานจาก หน่วยงานของรัฐ, ไม่รับเงินหรือประโยชน์ ใดๆจากหน่วยงานของ รัฐเป็นพิเศษ นอกเหนือจากที่หน่วยงานของรัฐปฏิบัติต่อบุคคล อื่นๆ ในทางธุรกิจ นายกฯ,รัฐมนตรี ต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วน หรือบริษัท กรณีจะรับประโยชน์ต่อไป ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ
2. พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 สาระสำคัญ... เป็นกฎหมายที่กำหนดกระบวนการพิจารณา วินิจฉัย สั่งการ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เช่น การมีคำสั่ง อนุญาต อนุมัติ แต่งตั้ง หรือคำสั่งอื่นใด ที่มีผลให้เกิดความ เปลี่ยนแปลง หรือระงับสิทธิ หรือหน้าที่ต่อบุคคลอื่นโดย วางระเบียบให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ใช้อำนาจตามที่กฎหมาย กำหนดไว้.
1) การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็นการ ...สาระสำคัญ... “ การพิจารณาทางปกครอง ” หมายความว่า การเตรียมการและการดำเนินการ ของเจ้าหน้าที่ เพื่อจัดให้มีคำสั่งทางปกครอง “ คำสั่งทางปกครอง ” หมายความว่า ...... 1) การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็นการ สร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะ ก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิ หรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และรับจดทะเบียน แต่ไม่รวมถึงการออกกฎ.
กฎกระทรวงฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2543) 2) การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง คือ กฎกระทรวงฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2543) (1) การดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหา หรือให้สิทธิ ประโยชน์ในกรณีดังต่อไปนี้ (1.1) การสั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่า ซื้อ เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ (1.2) การอนุมัติสั่งซื้อ จ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย ให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ (1.3) การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณา คำเสนอ หรือการดำเนินการอื่นใดในลักษณะเดียวกัน (1.4) การสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน (2) การให้หรือไม่ให้ทุนการศึกษา.
กรณีนี้ รวมถึง นิติบุคคล ...? ทางปกครองไม่ได้ 1. เป็นคู่กรณีเอง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539...สาระสำคัญ มาตรา 13 เจ้าหน้าที่ดังต่อไปนี้จะทำการพิจารณา ทางปกครองไม่ได้ 1. เป็นคู่กรณีเอง 2. เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี 3. เป็นญาติของคู่กรณีคือ บุพการี ผู้สืบสันดาน พี่น้องหรือลูกพี่ลูกน้อง ญาติเกี่ยวพันทางแต่งงาน 4. เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรม หรือ ผู้พิทักษ์ หรือผู้แทน หรือตัวแทนของคู่กรณี 5. เป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนายจ้างของคู่กรณี. กรณีนี้ รวมถึง นิติบุคคล ...?
การจัดจ้างและจัดซื้อ เพื่อรับเสด็จฯ ของโรงพยาบาลกระทุ่มแบน จังวัดสมุทรสาคร “ คณะกรรมการเตรียมความพร้อมเปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติ ” ได้มอบหมายให้ จ.พัสดุ, หัวหน้า จ.พัสดุ, ผอ. โรงพยาบาล... จัดจ้าง 8 ครั้ง ...จ้างเหมาตกแต่งซุ้มทางเดิน 4 ครั้ง และจ้างเหมา ทำเคาน์เตอร์, ทำตู้และชั้นวางของ ทำระบบไฟฟ้า, ปรับปรุงห้องสมุด รวม 4 ครั้ง จัดซื้อ 3 ครั้ง...ซื้อเก้าอี้หนังเอนกประสงค์ 2 ครั้งๆ ละ 100 ตัว ...ซื้อโต๊ะพับ เอนกประสงค์ 1 ครั้ง 35 ตัว มีผู้มาเสนอราคา ครั้งละ 4-5 ราย ผอ. สั่งซื้อบริษัทที่เสนอราคาถูกที่สุด (น้องสาวเป็นผู้จัดการ) 26
ผู้ถูกกล่าวหา 1. จ.พัสดุ, 2. หัวหน้า จ.พัสดุ, 3. ผอ. โรงพยาบาล 1. ความเห็น ป.ป.ช. - 8 เสียง ผิดร้ายแรง ฐานทุจริต,จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ - 1 เสียง ผิดไม่ร้ายแรง ฐานไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ ลงโทษ...ไล่ออกทั้ง 3 ราย 2. ผู้ถูกกล่าวหาทั้ง 3 ราย.....อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. - 3 เสียง ผิดร้ายแรง ฐานทุจริต,จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ - 1 เสียง ผิดร้ายแรง จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ*** - 3 เสียง ผิดไม่ร้ายแรง ฐานไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ ลดโทษ...เป็นปลดออก ผู้ถูกกล่าวหาที่ 1 และที่ 3 ฟ้องศาลปกครองสูงสุด..รอผล? 27
“ พฤติการณ์ซึ่งมีสภาพร้ายแรง ” ? มาตรา 16 กรณีมีเหตุอื่นนอกจากที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 13 ซึ่งมีสภาพร้ายแรง อันอาจทำให้การพิจารณาทาง ปกครองไม่เป็นกลาง เจ้าหน้าที่หรือกรรมการผู้พิจารณาทาง ปกครอง จะทำการพิจารณาทางปกครองเรื่องนั้นไม่ได้. “ พฤติการณ์ซึ่งมีสภาพร้ายแรง ” ? เช่น - จ.พัสดุ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เสนอให้ ผอ. ซื้อ ของจากร้านน้องสาว ผอ. โรงพยาบาลชุมชน - คู่กรณีฟ้องร้องกัน, กรรมการสอบสวนทางวินัย-ละเมิด - กรณีให้ทุนเรียนต่อ กรรมการมี 5 คน มีทุน 4 ทุน กรรมการได้ทุน 4 คน สรุป..มาตรา 13 และ 16 เป็นเรื่อง Conflict of Interest
3. วินัยข้าราชการกับผลประโยชน์ทับซ้อน 1) ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่ง หน้าที่ราชการของตน หาประโยชน์ ให้แก่ตนเอง หรือผู้อื่น ( มาตรา 83(3)) อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน ประโยชน์..เป็นประโยชน์ที่ควรได้ ตัวอย่าง 1. ขายประกัน-อาหารเสริม ที่ทำงาน 2. แพทย์ กับ บริษัทยา, เภสัชกรกับการสั่งยา 3. แพทย์สูติ กับ การทำคลอด 4. หมออนามัย กับ การนำยาไปจำหน่าย 3. วินัยข้าราชการกับผลประโยชน์ทับซ้อน 29
2) ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยทุจริต มาตรา 85(1)(ผิดร้ายแรง) ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ คือการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่มิควรได้ เช่น – ทุจริตเงิน-พัสดุ, ทุจริตการจัดซื้อจัดจ้าง - จ่ายยาเพื่อเข้าคลินิกตัวเอง - เภสัชกร ขโมยยา, ปลอมลายมือชื่อเบิกยา - เภสัชกร และ ผอ.รพช. ร่วมกันจำหน่ายยาโดยมิชอบ/
ตัวอย่าง รายงานโดยปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง ถือว่าเป็น 3) ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา การ รายงานโดยปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง ถือว่าเป็น รายงานเท็จด้วย มาตรา 83(1) รายงาน คือบอก ชี้แจงข้อเท็จจริง ที่ได้รู้เห็น หรือที่ทราบมา รายงานเท็จ คือ... รายงานไม่เป็นความจริง รายงาน โดยปกปิดข้อ ความซึ่งควรต้องบอก ตัวอย่าง - การรายงานเท็จ เรื่องการเงิน คือเบิก เงินต่างๆจากราชการ เป็นเท็จ
จุดมุ่งหมาย - ผลประโยชน์ 4) ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนั้น ในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท มาตรา 83(6) ตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกัน เช่น ตำแหน่งผู้อำนวยการ จุดมุ่งหมาย - ผลประโยชน์ - เวลาทำงาน ตัวอย่าง - ผอ.รพ. เป็นผู้จัดการบริษัทยา - เภสัชกร เป็นผู้จัดการขายเครื่องมือแพทย์ - ประมงจังหวัด, ปศุสัตว์จังหวัด
4. ประมวลจริยธรรมกับผลประโยชน์ทับซ้อน 1. ต้องยึดมั่นในจริยธรรมและยืนหยัดกระทำ ในสิ่งที่ถูกต้อง 2. ต้องมีจิตสำนึกที่ดีและมีความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ 3. ต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจากตำแหน่ง หน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 4. ประมวลจริยธรรมกับผลประโยชน์ทับซ้อน 33
4. ต้องละเว้นการแสวงประโยชน์ที่มิชอบ และไม่กระทำ การอันเป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวม 5. ต้องปฏิบัติตามกฎหมายอย่างตรงไปตรงมา 6. ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม เป็น กลางทางการเมือง ไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็น ธรรม / 34
5. ผลประโยชน์ทับซ้อนตามกฎหมาย ป.ป.ช. กฎหมาย ป.ป.ช. ใช้คำว่า “ การขัดกันระหว่างประโยชน์ ส่วนบุคคลกับผลประโยชน์ส่วนรวม ”
ดังต่อไปนี้ (1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่ทำกับ มาตรา 100 ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่ทำกับ หน่วยงานของรัฐ ที่เจ้าหน้าที่ผู้นั้น มีอำนาจกำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรือดำเนินคดี (2) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วน หรือบริษัท ที่เข้าเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐ ที่เจ้าหน้าที่ผู้นั้น มี อำนาจกำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรือดำเนินคดี กฎหมาย ป.ป.ช. เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน
(3) รับสัมปทานหรือคงถือไว้ซึ่งสัมปทาน หรือเข้าเป็น คู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น อันมีลักษณะเป็นการผูกขาด (4) เข้าไปเป็นผู้มีส่วนได้เสียในฐานะกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจ้างในธุรกิจของเอกชนซึ่งอยู่ภายใต้ การกำกับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของหน่วยงานของรัฐ ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นสังกัดอยู่ หรือปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งโดยสภาพของผลประโยชน์ของเอกชนนั้น อาจขัดหรือแย้งกับผลประโยชน์ส่วนรวม
เจ้าหน้าที่ของรัฐตำแหน่งใดที่ต้องห้ามมิให้ดำเนิน กิจการการ ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. คือ นายกฯ, รัฐมนตรี) ให้นำบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับคู่สมรส ของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคสอง โดยให้ถือว่าเป็นการกระ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรา 101 ให้นำบทบัญญัติมาตรา 100 มาใช้บัง คับกับการดำเนินกิจการของผู้ซึ่งพ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ ของรัฐมาแล้วไม่ถึงสองปีโดยอนุโลม/
มาตรา 102 บทบัญญัติมาตรา 100 มิให้นำมาใช้ บังคับกับการดำเนินกิจการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งหน่วย งานของรัฐที่มีอำนาจกำกับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบ การดำเนินงานของบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ ในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชน จำกัด ที่หน่วยงานของรัฐถือหุ้นหรือเข้าร่วมทุน
บทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับกับผู้ซึ่งพ้นจากการ มาตรา 103 ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดจากบุคคล นอกเหนือทรัพย์สิน หรือประโยชน์ อันควรได้ตามกฎหมาย หรือกฎ ข้อบังคับที่ออกโดยอาศัยอำนาจ อำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สิน หรือ ประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์และจำนวนที่คณะ กรรมการ ป.ป.ช. กำหนด บทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับกับผู้ซึ่งพ้นจากการ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐมาแล้วยังไม่ถึง 2 ปี โดยอนุโลม
มาตรา 100 มาตรา 101 หรือ 103 ต้องระวางโทษจำคุก มาตรา 122 เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดฝ่าฝืนบทบัญญัติ มาตรา 100 มาตรา 101 หรือ 103 ต้องระวางโทษจำคุก ไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ กรณีความผิดตามมาตรา 100 วรรคสาม หากเจ้า หน้าที่ของรัฐผู้ใดพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการ ที่คู่สมรสของตน ดำเนินกิจการตามมาตรา 100 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้นั้นไม่มีความผิด
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ “ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา ” หมายความ ว่าการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด จากญาติ หรือจากบุคคลที่ให้กันในโอกาสต่างๆ โดยปกติ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือวัฒนธรรม หรือให้กัน ตามมารยาทที่ปฏิบัติกันในสังคม ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดย ธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2543 .............................
บุญธรรมหรือผู้รับบุตรบุญธรรม “ ญาติ ” หมายความว่า ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน พี่น้องร่วม บิดามารดา หรือร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน ลุง ป้า น้า อา คู่สมรส ผู้บุพการีหรือผู้สืบสันดานของคู่สมรส บุตร บุญธรรมหรือผู้รับบุตรบุญธรรม “ ประโยชน์อื่นใด ” หมายความ สิ่งที่มีมูลค่า ได้แก่ การลดราคา การ รับความบันเทิง การรับบริการ การรับการฝึกอบรม หรือ สิ่งอื่นใดในลักษณะเดียวกัน
ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ของรัฐจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยาได้ ดังนี้ (1) รับจากญาติซึ่งให้โดยเสน่หา ตามจำนวนที่เหมาะสม ตามฐานานุรูป (2) รับจากบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ญาติ มีราคาหรือมูลค่าใน การรับจากแต่ละบุคคล แต่ละโอกาสไม่เกิน 3,000 บาท (3) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ที่การให้นั้นเป็นการ ให้ในลักษณะให้กับบุคคลทั่วไป ผลประโยชน์ดังกล่าว เป็นสิ่งจูงใจทำให้กระทบต่อการ ตัดสินใจ หรือการสั่งการของเจ้าหน้าที่ ไม่ตรงไปตรงมา ไม่เป็นธรรม ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ
หลักเกณฑ์ตามข้อ 5 โดยสรุปคือ ข้อ 6,7,8 การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ไม่เข้า หลักเกณฑ์ตามข้อ 5 โดยสรุปคือ (1) รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบเพื่อพิจารณา (2) กรณีหัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหารสูงสุดของ หน่วยงานของรัฐ ให้แจ้งผู้มีอำนาจถอดถอน (3) กรณีผู้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการและ กรรมการในองค์กรอิสระ หรือผู้ดำรงตำแหน่งที่ไม่มีผู้ บังคับบัญชา ให้แจ้งต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (4) กรณีสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา สภา ท้องถิ่น ให้แจ้งต่อประธานสภานั้นๆ ..ประกาศนี้ บังคับแก่ผู้ที่พ้นจากการเป็น จนท. ของรัฐ ไม่ถึง 2 ปีด้วย..
6. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้หรือรับ “ ของขวัญ ” หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่ให้ แก่กันเพื่ออัธยาศัยไมตรี เพื่อเป็นรางวัล เพื่อเสน่หา หรือ เพื่อการสงเคราะห์ เพื่อเป็นสินน้ำใจ เพื่อสิทธิพิเศษในการ ลดราคาทรัพย์สิน เพื่อสิทธิพิเศษการได้รับการบริการ หรือ ความบันเทิง ออกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง การท่องเที่ยว ค่า ที่พัก ค่าอาหาร บัตร ตั๋ว หรือหลักฐานอื่นใด การชำระเงิน ให้ล่วงหน้าหรือการคืนเงินให้ในภายหลัง 6. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้หรือรับ ของขวัญของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2544
และปราบปรามการทุจริต “ ปกติประเพณีนิยม ” หมายความว่า เทศกาลหรือวันสำคัญซึ่งอาจมีการให้ ของขวัญกัน รวมถึงโอกาสในการแสดงความยินดี การแสดง ความขอบคุณ การต้อนรับ การแสดงความเสียใจ หรือการ แสดงให้ความช่วยเหลือตามมารยาทที่ถือปฏิบัติกันในสังคม “ บุคคลในครอบครัว ” หมายความว่า คู่สมรส บุตร บิดา มารดา พี่น้องร่วม บิดามารดา หรือร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน ระเบียบนี้ อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต
ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ของรัฐจะให้ของขวัญแก่ผู้บังคับบัญชา หรือ บุคคลในครอบครัวของผู้บังคับบัญชานอกเหนือจาก กรณีปกติประเพณีนิยมที่มีการให้ของขวัญแก่กันมิได้ - การให้ต้องให้ของขวัญที่มีราคาและมูลค่า ตามที่ กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกำหนด - เจ้าหน้าที่ของรัฐ จะเรี่ยไรเงินหรือทรัพย์สินอื่นใด หรือใช้เงินสวัสดิการใดๆ เพื่อจัดให้หรือจัดหาของขวัญให้ผู้ บังคับบัญชา หรือบุคคลในครอบครัวของผู้บังคับบัญชา ไม่ว่ากรณีใดๆ มิได้
ข้อ 6 ผู้บังคับบัญชา จะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลใน ข้อ 6 ผู้บังคับบัญชา จะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลใน ครอบครัวของตน รับของขวัญจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งเป็นผู้อยู่ในบังคับบัญชามิได้ เว้นแต่เป็นการให้ตาม ข้อ 5 ข้อ 7 จนท. ของรัฐ จะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลใน ครอบครัวของตน รับของขวัญจากผู้ที่เกี่ยวข้องใน การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐมิได้ ถ้ามิใช่เป็น การรับของขวัญตาม ข้อ 8 คือ รับตามปกติประเพณี นิยมและของขวัญนั้นมีราคาหรือมูลค่าไม่เกินจำนวนที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามวรรคหนึ่ง ได้แก่ผู้มาติดต่องาน หรือผู้ซึ่งได้รับ ประโยชน์จากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ดังนี้ (1) ผู้ซึ่งมีคำขอ ให้หน่วยงานของรัฐ ดำเนินการ อย่างหนึ่งอย่างใด เช่น การขอใบรับรอง การขอให้ออกคำสั่ง ทางปกครอง หรือการร้องเรียน เป็นต้น (2) ผู้ซึ่งประกอบธุรกิจหรือมีส่วนได้เสียในธุรกิจ ที่ทำกับหน่วยงานของรัฐ เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง หรือการได้ รับสัมปทาน เป็นต้น
(3) ผู้ซึ่งกำลังจะดำเนินกิจการใดๆ ที่มีหน่วยงาน ของรัฐเป็นผู้ควบคุม หรือกำกับดูแล เช่น การประกอบกิจ การโรงงาน หรือธุรกิจหลักทรัพย์ เป็นต้น (4) ผู้ซึ่งอาจได้รับประโยชน์ หรือผลกระทบจาก การปฏิบัติหน้าที่หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ
ข้อ 8 เจ้าหน้าที่ของรัฐจะยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลใน ครอบครัว รับของขวัญจากผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติ หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐได้เฉพาะกรณีการรับของขวัญ ที่ให้ตามปกติประเพณีนิยม และของขวัญนั้นมีราคาหรือ มูลค่าไม่เกินจำนวนที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนดไว้ ข้อ 9 กรณีบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ของรัฐ รับ ของขวัญ โดยฝ่าฝืนระเบียบนี้ ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด
หรือรับของขวัญ โดยฝ่าฝืนระเบียบนี้ ให้ดำเนินการ ดังนี้ ข้อ 10 เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดจงใจปฏิบัติเกี่ยวกับการให้ของขวัญ หรือรับของขวัญ โดยฝ่าฝืนระเบียบนี้ ให้ดำเนินการ ดังนี้ (1) กรณีเป็นข้าราชการการเมือง ให้ดำเนินการตาม ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ว่าด้วยมาตรฐานทาง คุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการการเมือง (2) กรณีเป็นข้าราชการ พนักงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หรือพนักงานของรัฐวิสาหกิจ ให้ถือว่าผู้นั้นกระทำ ผิดวินัย และให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการลงโทษทางวินัย ข้อ 11 ให้สำนักนายกรัฐมนตรีมีหน้าที่สอดส่อง และให้คำแนะนำ ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้แก่หน่วยงานของรัฐ กรณีมี การร้องเรียนว่ามีการฝ่าฝืนตามระเบียบนี้ ให้แจ้งเรื่องไป ยังผู้บังคับบัญชาของผู้นั้น เพื่อดำเนินการตามระเบียบนี้
ข้อ 12 เพื่อประโยชน์ในการเสริมสร้างให้เกิดทัศนคติในการ ข้อ 12 เพื่อประโยชน์ในการเสริมสร้างให้เกิดทัศนคติในการ ประหยัดแก่ประชาชนทั่วไป ในการแสดงความยินดี การแสดง การต้อนรับ หรือการแสดงความเสียใจในโอกาสต่างๆ ตาม ปกติประเพณีนิยม ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐพยายามใช้วิธีการแสดง ออกโดยใช้บัตรอวยพร การลงนามในสมุดอวยพร การใช้บัตร แสดงความเสียใจ แทนการให้ของของขวัญ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้างค่านิยม ด้วยการ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี แนะนำ หรือกำหนดมาตรการจูงใจ ที่จะพัฒนาทัศนคติ จิตสำนึกและพฤติกรรมของผู้อยู่ใต้บังคับ บัญชาให้ไปแนวทางประหยัด /
1. การใช้อำนาจหน้าที่ดำเนินการเอง เช่น ทุจริตเงิน, เบิกค่าใช้จ่ายไปราชการเท็จ, เอาทรัพย์สินของทางราชการ ไปใช้โดยมิชอบ 2. การใช้อำนาจหน้าที่เรียกประโยชน์ เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง, การก่อสร้าง, การเลื่อนตำแหน่ง, การสอบสวน 3. การแลกเปลี่ยนกับผลประโยชน์ เช่น นักการเมืองกับเจ้าหน้าที่รัฐ 4. การขอความร่วมมือกับเอกชน เช่น เพิ่มราคา, เพิ่มราคากลาง 5. การให้ในลักษณะของขวัญเกินกว่าที่ทางราชการกำหนด / สรุป...รูปแบบ/ประเภทของผลประโยชน์ทับซ้อน
Corruption Perceptions Index : CPI (ปี 2018) สถานการณ์การทุจริตของโลก จำนวน 180 ประเทศ Corruption Perceptions Index : CPI (ปี 2018) (ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น ปี 2561)
ดัชนีคอร์รัปชั่นโลก ปี 2561 New ZealandNew Zealand ลำดับที่ คะแนน ประเทศ 1 88 Denmark (พลเมือง 5.4 ล้านคน) 2 87 New Zealand(4.7 ล้านคน) 3 85 Finland, Singapore, Sweden,Switzerland 7 84 Norway 8 82 Netherlands 9 81 Canada, Luxembourg 11 80 Germany(82 ล้านคน), United Kingdom 13 77 Australia 14 76 Austria, Hong Kong, Iceland 17 75 Belgium 18 73 Estonia, Ireland, Japan(126 ล้านคน), 21 72 France(67 ล้านคน) 22 71 United States of America (328 ล้านคน) 138 28 Russia(146 ล้านคน)
ดัชนีคอร์รัปชั่นโลกของทวีปเอเชีย ปี 2561 ลำดับที่ โลกปี61 ประเทศ คะแนน ปี60-61 ลำดับที่ของ โลกปี60-61 1 Singapore 88-85 6-3 2 Hong Kong 77-76 13-14 3 Japan 73-73 20-18 4 Brunei, Taiwan 31-29 62-63 32-31 5 Korea (South) 54-57 51-45 6 Malaysia 47-47 62-61 7 India 40-41 81-78 8 China 41-39 77-87 9 Indonesia, Sri Lanka 37-38 96-89 10 Thailand,(Philippines 99-111) 37-36 96-99 11 Vietnam, Pakistan 117-117 35-33 117-107 12. เนปาล 13. ลาว,พม่า 14. กัมพูชา 15. เกาหลีเหนือ
คือ ระดับการคอร์รัปชันในประเทศไทย ยังคงรุนแรงอยู่ ทำให้พิจารณาสถานการณ์ การคอร์รัปชันในประเทศไทยได้ คือ ระดับการคอร์รัปชันในประเทศไทย ยังคงรุนแรงอยู่ เหมือนเดิม ยังไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง แม้จะมีความพยายามในการ แก้ไขปัญหาโดยหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ด้วย วิธีการ มาตรการและนโยบายต่างๆ นานา มาโดยตลอดก็ตาม แสดงให้เห็นว่ายังมีช่องโหว่ ในเรื่องการป้องกันการทุจริต สภาพที่เห็นมา 40 ปีแล้ว ยังไม่มีแนวโน้มว่าจะดีขึ้น (คะแนนดัชนีภาพลักษณ์ฯ อยู่ระหว่าง 30-38) ปัญหาช่องโหว่คืออะไร อยู่ที่ไหน จะแก้อย่างไร จากดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น ปี 2561
ทัศนะของคนในสังคมไทย : โกงได้บ้างแต่ต้องมีผลงาน กลุ่มวัยรุ่น 64% กลุ่มนักการเมือง 34% ระบบการศึกษาล้มเหลว
นักการเมือง เจ้าหน้าที่รัฐอื่นฯ การทุจริต ผลประโยชน์ทับซ้อน เอกชน นักธุรกิจ
สภาพของสังคมไทย กับปัญหาการทุจริต 1. มีการทุจริตเต็มบ้านเต็มเมือง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน 2. การเมืองไม่มีความจริงใจ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว 3. สังคมยอมรับการทุจริต 4. การปฏิบัติและบังคับใช้กฎหมายเลือกปฏิบัติ 5. ไม่ใส่ใจต่อการรักษาประโยชน์ส่วนรวม 6. ให้เกียรติและนับถือคนร่ำรวย โดยไม่คำถึงถึงความถูกต้อง 7. ระบบการศึกษาล้มเหลว...ในสถาบัน/ในครอบครัว
การทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อนในปัจจุบัน 1. การนำทรัพย์สินของทางราชการไปใช้ส่วนตัว - ดินสอ ปากกา ยางลบ ซองจดหมาย ฯลฯ - เครื่องมือทางการแพทย์ - รถยนต์ของราชการ 2. การเรียกเงินค่าตอบแทนจากการจัดซื้อ จัดจ้าง การจัดซื้อ -ซื้อยา วัสดุครุภัณฑ์ทางการแพทย์ -ซื้อวัสดุทั่วไป, ซื้อน้ำมันรถยนต์ การจัดจ้าง - การจัดจ้างการก่อสร้าง, การซ่อมแซมอาคาร - การซ่อมรถยนต์ การทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อนในปัจจุบัน
5. การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเป็นเท็จ 3. จัดซื้อ จัดจ้าง จากญาติตนเองหรือจากตนเอง 4. การทุจริตเงินของทางราชการ - ทุจริตเงินสด - ทุจริตเงินจากเช็ค 5. การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเป็นเท็จ -ค่าที่พัก ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่ายาพาหนะ 6. การเบิกค่าตอบแทนเป็นเท็จ -เงินค่าตอบแทนตำแหน่ง -ค่าอยู่เวร ค่าตอบแทนแพทย์ 7. โครงการอบรม ศึกษาดูงาน เป็นเท็จ 8. การจ่ายยาและเวชภัณฑ์เกินความจำเป็น 9. การับเงินบริจาคที่ไม่ชอบ ...........................
การทุจริตและผลประโยชน์ทับซ้อน รูปแบบ....การป้องกัน การทุจริตและผลประโยชน์ทับซ้อน 65
แนวทางป้องกันและปราบปราม...ภาพใหญ่ องค์กรอิสระ หน่วยงานรัฐ รัฐบาล เจ้าหน้าที่รัฐ ภาคประชาชน
การบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี หรือ หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) 1. หลักนิติธรรม / 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปร่งใส / 4. หลักการมีส่วนร่วม / 5. หลักความรับผิดชอบ / 6. หลักความมีประสิทธิภาพ 7. หลักความคุ้มค่า การบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี หรือ หลักธรรมาภิบาล (Good Governance)
สถานการณ์ที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน 1. รัฐบาล ฝ่ายนโยบาย - ไม่เอาจริง, มีคนในรัฐบาลทุกสมัยทุจริตเอง 2. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ฝ่ายเจ้าภาพหลัก - ยังคิดไม่ถูกทางว่าจะทำอย่างไร - แนวทางที่ถือปฏิบัติอยู่ ยังไม่ครบถ้วน 3. หน่วยงานของรัฐ ฝ่ายปฏิบัติ - ปฏิบัติตามแนวทาง ป.ป.ช. - ปฏิบัติตามแนวทางของตน ซึ่งยังครบถ้วน 4. ภาคเอกชน....ยังเข้ามามีส่วนร่วมน้อยมาก การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ สถานการณ์ที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน
สถานการณ์ที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ สถานการณ์ที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน การดำเนินการที่ควรจะทำ 1. การป้องกัน 2.การปราบปราม 1.1 ด้านธุรการ 1.2 ด้านเนื้อหา 1.3 การสร้างจิตสำนึก
การป้องกันการทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อนในปัจจุบัน 1. ดำเนินการ ด้านธุรการ เช่น.... 1.1 การสอน การบรรยายให้รู้ว่าอะไรถูก อะไรผิด 2.2 การจัดงานนิทรรศการ 2.3 การแจกแผ่นพับ, เอกสารต่าง 2.4 แบบรายงานผลการดำเนินการต่างๆ โดยมีเกณฑ์ตัวชี้วัดกำหนด การป้องกันการทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อนในปัจจุบัน คะแนนตัวชี้วัด ทุกหน่วยงาน สูงมาก มีการแจกรางวัล
2. ดำเนินการ ด้านเนื้อหา เช่น.... 2.1 ให้ทุกหน่วยงานจัดทำเอกสาร ว่าหน่วยงานของตน มีงานใดบ้างที่มีช่องทางทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อน 2.2 มีแผนการป้องกัน 2.3 ดำเนินการป้องกันตามแผน 2.4 มีการรายงานผลการดำเนินการให้หน่วยงานที่ควบคุม 2.5 เมื่อมีกรณีทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อน เกิดขึ้น ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องรับผิดด้วย คือ (1) ผู้กระทำผิด, ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน (2) ผู้ตรวจสอบ (3) รับผิดในทางบริหาร วินัย แพ่ง อาญา แล้วแต่กรณี
ตัวอย่าง การป้องกันการทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อน 1. การนำรถยนต์ของราชการไปใช้ส่วนตัว -พนักงานขับรถ.....ตรวจสอบ 2. การเบิกค่าใช้จ่ายเป็นเท็จ/เงินค่าตอบแทนต่างๆ -ผู้ตรวจสอบ การจ่ายเงิน....ต้องเข้มงวด 3. การจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ วัสดุทั่วไป -เชิญผู้ขายมาต่อรองราคา....ไม่รับเงินบริจาคจากผู้ขาย 4. การจ่ายยาเกินความจำเป็น -เภสัชกร.....ตรวจสอบ 5. การทุจริตเงิน - ทุจริตเงินสด.......เข้มงวดการตรวจสอบ - ทุจิตจากเช็ค.......ต้องรู้การเขียนเช็คให้ถูกต้อง ตัวอย่าง การป้องกันการทุจริต/ผลประโยชน์ทับซ้อน
จ่ายเช็คกรณี ซื้อทรัพย์สิน, จ้างทำของ, เช่าทรัพย์สิน 9 มกราคม 2560 บริษัทเอกชัยการค้า จำกัด เก้าหมื่นบาทถ้วน 90,000 XX 100 สม.-... นารี.-..
การสั่งจ่ายเงิน กรณีซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ เช่าทรัพย์สิน 3 มกราคม 2560 ผอ.-... รอง ผอ.-... นางจันทร์ทรา ซื่อตรง บริษัทการค้าพัสดุไทย จำกัด หกแสนบาทถ้วน 600,000 XX 100 ทุจริต ไป 5 ล้านบาท ผอ.-... รอง ผอ.-... “ ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเงินสด ”
6. การจัดโครงการต่างๆ แอบแฝง - โครงการอบอบรม ศึกษาดูงาน...เพื่อท่องเที่ยว - โครงการอบรมเพื่อ...เลี้ยงปีใหม่, เลี้ยงเกษียณ 7. กำหนดมาตรการให้ผู้บังคับบัญชา ควบคุมอย่างเข้มงวด 8. สร้างหน่วยแจ้งเบาะแสให้เข้มแข็ง 9. การแก้กฎหมาย - การรับสินบน...ผู้รับผิด - การให้สินบน... ไม่ผิด หรือผิดรอการลงโทษได้ 10. การกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบ เพื่อความเหมาะสมในบางเรื่อง - ว่าอะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้ เช่น การนำโทรศัพท์ส่วนตัวมาชาร์ตไฟหลวง .......................
การห้ามนำโทรศัพท์ส่วนตัวมาชาร์ตไฟหลวง ประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันกรณีการใช้ทรัพย์สินของทางราชการ ข้อ 2 ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐนำโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนตัวมาชาร์ตไฟในสถานที่ราชการ แนวคิดของสังคมไทยในเรื่องนี้เป็นอย่างไร....... ผลเสียที่จะเกิดขึ้นตามมา....... ค่าชาร์ตไฟ มือถือ 1 เครื่อง จนเต็ม = 0.038 บาท ชาร์ต 100 เครื่อง ต่อวัน = 3.8 บาท ชาร์ต 100 เครื่อง ต่อปี = 1,387 บาท โทรศัพท์ 100 เครื่อง จ่ายค่าโทรส่วนตัว = ? บาท
1. รัฐบาลต้องจริงใจ จริงจังต่อนโยบาย 2. ออกกฎหมายและแก้กฎหมาย...ไม่มีอายุความ, ผู้ให้ไม่ผิด 3. การบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐ...รวดเร็ว,เสมอภาค 4. การสร้างจิตสำนึก...ยกย่องคนดี ผู้แจ้งเบาะแส 5. รัฐสนับสนุนหน่วยตรวจสอบ ทั้งอำนาจ อัตรากำลัง 6. ภาคประชาชนมีส่วนร่วม 7. ลงโทษผู้ฝ่าฝืนสถานหนัก โทษทางกฎหมายและทางสังคม 8. ประกาศรายชื่อคนโกง เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ให้สาธารณะทราบ 9. ปรับรายได้เจ้าหน้าที่รัฐ / แนวทางป้องกัน...ภาพใหญ่
แนวทางการป้องกันและปราบปราม...ภาพเล็ก นโยบายผู้บริหาร การป้องกัน และปราบปราม การปราบปราม, การลงโทษ การเสริมสร้างและ ปลูกจิตสำนึก การตรวจสอบและควบคุม
นโยบายของผู้บริหาร ในการป้องกัน...(MOU ?) 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับการทุจริต 2. วางมาตรการ ในการป้องกันการกระทำผิด - ให้ถือว่าเป็นหน้าที่ของ ผบ. ทุกระดับ - การตรวจสอบ เช่น งานการเงิน, งานพัสดุ 3. สร้างแรงจูงใจ เช่น ให้รางวัลองค์กรใสสะอาด 4. ให้รางวัลผู้แจ้งเบาะแส /การลงโทษผู้กระทำผิดสถานหนัก 5. กระทำอย่างจริงจังและต่อเนื่อง..ปัญหาเมื่อเปลี่ยนผู้บริหาร/ การป้องกันและปราบปราม...ข้อเสนอ
การเสริมสร้างความรู้ 1. หน่วยงานที่ทุจริต คือรัฐ, เอกชน, วัด 2. งานที่มีช่องให้ทุจริตได้ - งานยุติธรรม, ตำรวจ, อัยการ - งานบริหารงานบุคคล.. บรรจุ เลื่อน ย้าย - งานจัดซื้อ จัดจ้าง, งานรักษาพยาบาล 3. วิธีการ เพื่อผลประโยชน์ทับซ้อนและทุจริตประพฤติมิชอบ 4. มูลค่าของการทุจริต แต่ละปี เป็นแสนล้าน 5. ทุจริตเงินของใคร 6. ผลเสียหายของการทุจริต/
การปลูกจิตสำนึกเพื่อป้องกันและปราบปราม 1. ปลูกจิตสำนึก ว่าเป็นหน้าที่ของเราทุกคน 2. ในสถาบันการศึกษา ทุกวัยเรียน ว่าจะไม่โกงและ จะต่อต้านคนโกง ให้ยึดมั่นคุณธรรม จริยธรรม 3. ในสถาบันครอบครัว ให้สอนบุตรหลาน 4. ยกย่องคนดี ประกาศ..ให้รางวัล 5. ลงโทษทางสังคมคนที่ทุจริตและประพฤติมิชอบ เช่น ต่อต้าน ไม่ยกมือไหว้ เดินหนี ไม่ร่วมวง 6. ปฏิบัติตามกฎหมาย, รักษาประโยชน์สาธารณะ /
การตรวจสอบและควบคุมเจ้าหน้าที่ 1. การตรวจสอบ ควบคุมการปฏิบัติงาน 1.1 งานการเงิน...การรับ การเก็บ การจ่าย 1.2 งานจัดซื้อจัดจ้าง...การตรวจรับ,การเบิกจ่าย 1.3 งานรักษาพยาบาล 1. งานโครงการอบรม ศึกษาดูงาน 1.5 องค์กรตรวจสอบจากภายใน-ภายนอก 2. ตรวจสอบความประพฤติผู้ใต้บังคับบัญชา 3. ให้มีช่องทางร้องเรียน หลายช่องทาง/
สรุป...การป้องกันการทุจริตและผลประโยชน์ทับซ้อน จะสำเร็จหรือไม่ อยู่ที่ ผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชาระดับสูง นายก,ครม. / รัฐมนตรี,ปลัดกระทรวง,อธิบดี
วิทยากรผู้บรรยาย นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ อดีต ผู้อำนวยการ(นิติกรเชี่ยวชาญ ด้านวินัย) กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โทร. 081 4090916 E-mail : ruengrat 1908 @ gmail. com สวัสดี...