งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ณ ห้องประชุมแสงสิงแก้ว ชั้น 4

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ณ ห้องประชุมแสงสิงแก้ว ชั้น 4"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ณ ห้องประชุมแสงสิงแก้ว ชั้น 4
โครงการโรงพยาบาลคุณภาพคู่คุณธรรม เรื่อง แนวคิดการดำเนินงานตามนโยบายคุณธรรม, การค้นหาอัตลักษณ์และการสร้างวินัยในการ ปฏิบัติงานอย่างมีความสุข  วันที่ กุมภาพันธ์ 2560 เวลา น.–16.30 น. ณ ห้องประชุมแสงสิงแก้ว ชั้น 4 โรงพยาบาลศรีธัญญา

2 บรรยายวันนี้ เนื้อหาการ 3. การสร้างวินัยในการปฏิบัติงาน อย่างมีความสุข
โครงการ “โรงพยาบาลคุณภาพคู่คุณธรรม” เนื้อหาการ บรรยายวันนี้ 1. แนวคิดการดำเนินงานตามนโยบาย คุณธรรม 2. การค้นหาอัตลักษณ์ของโรงพยาบาล 3. การสร้างวินัยในการปฏิบัติงาน อย่างมีความสุข

3 เรื่อง “แนวคิดการดำเนินงานตามนโยบายคุณธรรม”
โครงการโรงพยาบาลคุณภาพคู่คุณธรรม เรื่อง “แนวคิดการดำเนินงานตามนโยบายคุณธรรม” ปัญหาของโรงพยาบาล การบริหารงาน การรักษาพยาบาล ต้องปัญหาลดลงหรือหมดไป บริหารงานด้วยคุณธรรม การรักษาพยาบาลมีคุณภาพ นำต้นแบบมาจาก โรงเรียนคุณธรรมคือ ร.ร.บางมูลนากภูมิวิทยาคม ผู้บริหารของกระทรวง มอบนโยบายและแนวคิด ให้ ร.พ. เป็น ร.พ.คุณธรรม

4  สังคมใดที่มีแต่คนดีมีคุณธรรม สังคมนั้น ไม่ต้องมีกฎเกณฑ์บังคับ
แนวคิดการดำเนินงานตามนโยบายคุณธรรม  สังคมใดที่มีแต่คนดีมีคุณธรรม สังคมนั้น ไม่ต้องมีกฎเกณฑ์บังคับ  ความเป็นจริงของสังคมมนุษย์ - สังคมเผ่า - สังคมพระ ก็ยังต้องมีกฎเกณฑ์บังคับ

5 การเป็นข้าราชการ - การรับราชการ
แนวคิดการดำเนินงานตามนโยบายคุณธรรม  สังคมข้าราชการ การเป็นข้าราชการ - การรับราชการ คือการทำงานของรัฐเพื่อบริการประชาชน  สมัยโบราณ การเป็นข้าราชการ คือเป็นเจ้าคนนายคน หรือเป็นระบบเจ้าขุนมูลนาย  สมัยปัจจุบัน การเป็นข้าราชการ คือการรับใช้ประชาชน โดยประชาชนมีความ พอใจ หรือประทับใจ แต่ยังไม่สำเร็จ เพราะติดระบบเจ้าขุนมูลนาย

6  ก่อนปี 2540 แนวคิดและการดำเนินการให้หน่วยงานของรัฐมีคุณธรรม สำนักงาน
 ไม่สำเร็จ สำนักงาน ป.ป.ป/ป.ป.ช. สำนักงาน ก.พ. หน่วยงาน, กระทรวง,กรม

7 ตั้งแต่ ปี 2540 รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 คุณธรรม จริยธรรม ประมวลจริยธรรม ข้าราชการพลเรือน จริยธรรมข้าราชการฯ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หลักธรรมาภิบาล

8 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์
และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546  หลักธรรมาภิบาล  Good Governance

9 6. หลักความมีประสิทธิภาพ
1. หลักนิติธรรม / 2. หลักคุณธรรม/ 3. หลักความโปร่งใส 4. หลักการมีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ/ 6. หลักความมีประสิทธิภาพ 7. หลักความคุ้มค่า/ การบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี หรือ หลักธรรมาภิบาล

10 ประกอบด้วยหลักการดังนี้...
หลักความโปร่งใส ประกอบด้วยหลักการดังนี้... 1. หลักสุจริต คือการใช้สิทธิของตนต้องสุจริต 2. หลักเปิดเผย คือตรวจสอบได้ ยกเว้นเรื่องลับ 3. หลักเป็นกลาง คือไม่มีส่วนได้เสีย 4. หลักฟังความสองฝ่าย

11 ความหมายของธรรมาภิบาล
ธรรมาภิบาล(Good Governance) คือ การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุมดูแลกิจการต่างๆ ให้เป็น ไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการ ที่ดี ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้ ทั้งภาครัฐและเอกชน / สรุปคือ การปกครอง การบริหาร การจัดโครงสร้าง ของหน่วยงาน การปฏิบัติหน้าที่ในภาครัฐ ต้องเป็นไปใน ครรลองธรรม ความหมายของธรรมาภิบาล o

12 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร. กิจการบ้านเมืองที่ดี พ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ม. 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (ม. 7-8) หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (ม. 9-19) หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (ม.20-26) หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (ม.27-32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (ม.33-36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการ ของประชาชน (ม.37-44) หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ม.45-49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (ม.50-53)

13 ประกาศเจตนารมณ์ : การส่งเสริมวัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรมของชาวสาธารณสุข
 ผู้บริหาร ตัวแทนชมรม และบุคลากรสาธารณสุข ดังมีรายนาม ท้ายประกาศฯฉบับนี้ ในฐานะตัวแทนของชาวสาธารณสุข ขอแสดง เจตนารมณ์ ความมุ่งมั่นตั้งใจร่วมกันผลักดัน สนับสนุน ส่งเสริม การดำเนินงาน ให้กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานที่มีวัฒนธรรม องค์กรที่ดีงาม มีความโปร่งใส ยึดหมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรม ในการให้บริการ การบริหารงาน และการปฏิบัติงาน ที่มุ่งเน้น ประโยชน์สุขของประชาชนเป็นสำคัญ โดยมีแนวทางปฏิบัติที่พึง ประสงค์ ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 5 ประการ คือ

14 1. วัฒนธรรมการบริหารงานบุคคล การแต่งตั้งโยกย้ายที่โปร่งใส ยึดหลักความเสมอภาค และเป็นธรรม
2. วัฒนธรรมการให้บริการที่รวดเร็ว รับผิดชอบ อย่างเอื้อเฟื้อ เสมอกันทุกระดับ มีเมตตา อ่อนโยน เอื้ออาทรและใสใจในความเป็นมนุษย์ 3. วัฒนธรรมการทำงานร่วมกันด้วยความสามัคคี ปฏิบัติต่อกันด้วย ความมีน้ำใจเหมือน พี่-น้อง ครู-ศิษย์ ใช้สรรพนาม คำ พฤติกรรม และการติดต่อสัมพันธ์ ที่เป็นกันเอง ไม่เน้นพิธีรีตองจนเกินไป 4. วัฒนธรรมการต้อนรับที่เรียบง่าย เป็นกันเองเมื่อไปราชการ 5. วัฒนธรรมการแสดงความยินดีในโอกาสต่างๆ ด้วยน้ำใจ แทน การให้วัตถุ เน้นการประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย ซึ่งต้องร่วมกันผลักดัน ส่งเสริม ดำเนินการให้เกิดความยอมรับ และนำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง ประกาศ ณ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2550 9

15 คนดี...องค์ประกอบของคนดี
มีคุณธรรม/ซื่อสัตย์ คนดี, ข้าราชการดี มีจิตใจเอื้อเฟื้อ มีหน้าที่รักษา ความถูกต้อง รักษาประโยชน์ส่วนรวม

16 การสร้างคนให้เป็นคนดี
1. สถาบันครอบครัว ปัจจุบันคนไทย? 2. สถาบันการศึกษา 3. สถาบันทางสังคม 4. รัฐบาล

17 1. เป็นสังคมอุปถัมภ์ ใจดี เกื้อกูลกันโดยไม่คิดเหตุผล
 สภาพของสังคมไทยในปัจจุบัน 1. เป็นสังคมอุปถัมภ์ ใจดี เกื้อกูลกันโดยไม่คิดเหตุผล 2. นักการเมืองขาดจิตสำนึกและความรับผิดชอบ มาก 3. คนส่วนหนึ่งยอมรับการทุจริต 4. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์สาธารณะ 5. นับถือคนร่ำรวยมากกว่าความถูกต้อง 6. ไม่เคร่งครัดในการปฏิบัติตามกฎหมาย 7. การบังคับใช้กฎหมาย มีการเลือกปฏิบัติ 8. ไม่มีการลงโทษทางสังคม คนผิด 9. ระบบการศึกษาล้มเหลว คือมุ่งให้คนเก่ง ไม่มุ่งให้คนดี /

18 สังคมคนญี่ปุ่น 1. การศึกษาของคนในชาติ 2. วินัยของคนในชาติ 3. ชาตินิยม
 ประเทศญี่ปุ่นเน้น 3 เรื่อง 1. การศึกษาของคนในชาติ 2. วินัยของคนในชาติ 3. ชาตินิยม  การเรียนการสอนเด็กอนุบาล ให้เด็กเล่นของ 3 อย่าง 1. กระดานรื่น 2. กระดานหก 3. กองทราย สังคมคนญี่ปุ่น สังคมเกาหลี?

19 อาชีพที่มีคุณธรรมของสาธารณสุข
ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีน้ำใจ/มีจิตบริการ พยาบาล

20 แนวคิด ให้โรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาลคุณธรรม
 ปัญหาต่างๆ ของโรงพยาบาลมีมากมาย เช่น  ความมีน้ำใจ, จิตบริการ  ความสามัคคี  การใช้ทรัพยากร  ความซื่อสัตย์  ความมีวินัย  ผลประโยชน์ทับซ้อน  การทุจริตต่อหน้าที่  การรักษาพยาบาล แนวคิด ให้โรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาลคุณธรรม ปัญหาเหล่านี้ คือ “พฤติกรรม ที่ไม่พึงประสงค์” หา “พฤติกรรม ที่พึงประสงค์”

21 1. ปัญหาการบริหารการจัดซื้อจัดจ้าง  การซื้อยาและเวชภัณฑ์
 ตัวอย่าง ปัญหาของกระทรวง 1. ปัญหาการบริหารการจัดซื้อจัดจ้าง  การซื้อยาและเวชภัณฑ์  การซื้อวัสดุทางการแพทย์  การซื้อวัสดุทั่วไป  การซื้อน้ำยาแล็บ  การจัดจ้าง มี % เงินสวัสดิการ ใช้เพื่อส่วนรวม ใช้ค่าเสียหายทางการแพทย์ ใช้เพื่อส่วนตัว

22  มีความผิดพลาดและถูกฟ้องร้องมากขึ้น
2. ปัญหาการให้บริการทางการแพทย์  มีความผิดพลาดและถูกฟ้องร้องมากขึ้น เช่น ผู้ป่วยถูกตัดขา, ผู้ป่วยเปลี่ยนข้อเข่า, การให้เลือดผิด, ผู้ป่วยอุบัติเหตุ  การไม่ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ เช่น ระบุสาเหตุการตายไม่ถูกต้อง  มีผลประโยชน์ทับซ้อน เช่น การจ่ายยาให้ผู้ป่วย, คนไข้จากคลินิก ไปทำงานที่ ร.พ. เอกชน ในเวลาราชาร  การทุจริตต่อหน้าที่...ยักยอกยา,เรียกเงินจากผู้ป่วย

23  การเลื่อนระดับตำแหน่ง  การให้สิทธิแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
3. ปัญหาการบริหารจัดการเรื่องอื่นๆ  การใช้รถราชการ  การเลื่อนระดับตำแหน่ง  การให้สิทธิแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา  การปกครองแพทย์ด้วยกัน  การเข้มงวดในกฎหมาย ระเบียบราชการ

24 4. ปัญหา เรื่องความแบบอย่างที่ดีของผู้นำ  ความซื่อสัตย์
เช่น ผลประโยชน์ทับซ้อน, การทุจริต  ความโปร่งใส  ความเป็นธรรม  บริหารโดยหลักธรรมาภิบาล 5. ปัญหา ประชาชนขาดความเชื่อถือ  บุคลากรทางการแพทย์ ไม่เพียงพอ  ความผิดพลาดทางการแพทย์ - โรงพยาบาลฆ่าสัตว์, โรงพยาบาลพารา

25 ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข
นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ อดีต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (1 ตุลาคม กันยายน 2558) “ มอบนโยบายและแนวคิดการพัฒนาโรงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศเป็นโรงพยาบาลคุณธรรม ”

26 นายแพทย์ณรงค์ฯ อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบาย “ พัฒนาหน่วยงานด้านสาธารณสุข เพื่อให้สอดคล้อง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ในการสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดีให้มี ความโปร่งใส ภายใต้หลักธรรมาภิบาล เป็นหน่วยงานที่มีคุณภาพและคุณธรรม ” ผลที่คาดว่าจะได้รับคือ ผู้ปฏิบัติงานเป็นคนดี ปฏิบัติ งานอย่างมีความสุข ผู้รับบริการได้รับน้ำใจอันงดงามจาก ผู้ ให้บริการ คุณภาพบริการดีขึ้นและประหยัด

27 นโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์
“ ดำเนินการพัฒนาให้โรงพยาบาลทุกแห่ง ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ เป็นโรงพยาบาลคุณธรรม ”

28 จุดมุ่งหมาย โรงพยาบาลคุณธรรม
1. เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากการบริการ ที่มีคุณภาพ ประชาชนมีความสุขเมื่อไปใช้บริการ 2. เพื่อให้บุคลากรมีความสุขในการทำงานและบริการ ประชาชน 3. เพื่อสร้างธรรมาภิบาลในการบริการและบริหาร ที่มีคุณภาพ 4. เพื่อเป็นบรรทัดฐานของสังคมในเรื่องการเป็น ผู้ให้บริการด้วยความรู้คู่คุณธรรม /

29 1. บุคลากรมีความรักความสามัคคี
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. บุคลากรมีความรักความสามัคคี 2. ประหยัด ลดการสูญเสียทรัพยากร 3. คุณภาพบริการ การรักษาพยาบาลดีขึ้น 4. ได้รับการยกย่อง ชื่นชมจากประชาชน 5. ประชาชนมีความสุขเมื่อไปใช้บริการ

30 นายแพทย์ณรงค์ฯ อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข มอบนโยบายและแนวคิด “ เพื่อพัฒนาให้โรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาลคุณธรรม ”  เมื่อเป็นนโยบาย ...ต้องทำ  ทำอย่างไรจึงจะสำเร็จ...ให้คิดเอง  โดยยึดต้นแบบ โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม  โรงพยาบาลที่ดำเนินการก่อน - โรงพยาบาลบางมูลนาก - โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชตะพานหิน - โรงพยาบาลชลบุรี

31 โรงพยาบาลคุณธรรมต้นแบบ

32 โรงพยาบาลคุณธรรมต้นแบบ

33 โรงพยาบาลคุณธรรมต้นแบบ
เริ่มดำเนินการ 20 พฤษภาคม 2556 ประกาศ อัตลักษณ์ เมื่อ 29 กรกฎาคม 2556 “ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมีน้ำใจ ”

34 แนวคิด เรื่องโรงพยาบาลคุณธรรม
ศ.เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย -อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย -องคมนตรี นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ -นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพิจิตร -ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (1 ตุลาคม กันยายน 2558)

35 แนวคิด เรื่องโรงพยาบาลคุณธรรม
 เป็นโรงเรียนคุณธรรมต้นแบบแห่งแรก ดำเนินการ ปี 2553  ปัญหาของโรงเรียน - เด็กนักเรียน หนีเที่ยว ลอกการบ้าน ตั้งท้อง การเรียนไม่ดีมี... “ พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ”  ปัญหาของสังคมไทย ....ย้อยหลังไปมีแต่ความมืดมน - จริยธรรมเสื่อม, การเมืองใช้เงินซื้อเสียงขาดจริยธรรม, ความมั่งคั่งที่กระจุก,ธรรมชาติเสื่อมโทรม

36 พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
“ ทำอย่างไรให้โรงเรียนสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง” สังคมไทยปัจจุบันเกิดปัญหาวิกฤตคุณธรรม เป็นสังคม วัตถุนิยม บริโภคนิยม ให้ความสำคัญแก่ผู้มีอำนาจและความ ร่ำรวยแทน ซึ่งเราทุกคนต้องช่วยกันแก้ไข

37 เด็กนักเรียน มาโรงเรียนสาย แต่งกายไม่เรียบร้อย
 แนวคิดโรงเรียนคุณธรรม  โรงเรียนบางมูลนากภูมิพิทยาคม จ.พิจิตร  ปี มีนักเรียน 2,175 คน ครู 88 คน ผู้บริหาร 4 คน  โรงเรียนมีปัญหา คือ เด็กนักเรียน มาโรงเรียนสาย แต่งกายไม่เรียบร้อย ไม่มีสัมมาคารวะ พูดจาไม่สุภาพเรียบร้อย สูบบุหรี่ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย ทะเลาะวิวาท ทุจริตในการสอบ ลอกการบ้าน ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ไม่เข้าแถวซื้ออาหาร ไม่ทิ้งขยะลงในถังขยะ ไม่ดูแลรักษาทรัพยากรส่วนรวม

38 โดยมีแนวคิด “ ปัญหาที่อยากแก้ ความดีที่อยากทำ ”
 จากปัญหาของโรงเรียน ผู้บริหารต้องการแก้ปัญหา โดยมีแนวคิด “ ปัญหาที่อยากแก้ ความดีที่อยากทำ ” จึงมีโครงการโรงเรียนต้นแบบด้านคุณธรรมจริยธรรม ในปี ภายใต้ความร่วมมือของ 3 องค์กร คือ สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ศูนย์คุณธรรม และ โรงเรียนบางบุญนากภูมิวิทยาคม  การดำเนินการตามโครงการในระยะแรก คือ ประชุมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มผู้บริหารและครู กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้ปกครอง และกลุ่มชุมชน โดยได้ร่วมกันกำหนด ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา เรียก “ยุทธศาสตร์ 3-6-3”

39 “ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความพอเพียง ”
 3 อัตลักษณ์ คือ “ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความพอเพียง ”  6 กิจกรรมหลัก คือ 1. เสริมสร้างระเบียบวินัย 2. เสริมสร้างความดี 3. เสริมสร้างความกตัญญูกตเวที 4. การพัฒนาจริยธรรม 5. ส่งเสริมจิตอาสา 6. พัฒนาโรงเรียนสีขาว  3 ยุทธศาสตร์ คือ 1. การพัฒนาครู การพัฒนานักเรียน 3. การพัฒนาสภาพแวดล้อม

40  ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของครู 1. การไม่เบียดเบียนเวลาราชการ
 กำหนดตัวบ่งชี้ความสำเร็จ ต้องร่วมกันกำหนด  ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของครู 1. การไม่เบียดเบียนเวลาราชการ 2. ตรงต่อเวลา 3. ไม่แสวงประโยชน์จากนักเรียนและโรงเรียน 4. รับผิดชอบในหน้าที่ 5. จิตอาสา 6. ประหยัดทรัพยากรของโรงเรียน /

41  ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของนักเรียน
1. ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของโรงเรียน 2. ไม่เกี่ยวข้องกับอบายมุข 3. ดำรงชีวิตอย่างพอเพียง 4. มีจิตอาสาและจิตสำนึกสาธารณะ  ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของสภาพแวดล้อม 1. โรงเรียนสะอาด ร่มรื่น สวยงาม 2. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน /

42  ผลการดำเนินการตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม
 ขั้นตอนการขับเคลื่อนการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ คือการนำยุทธศาสตร์ ลงสู่การปฏิบัติ  ผลการดำเนินการตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม  ดำเนินการได้ 1 ปี ได้รับการประเมินจาก - นักวิจัยศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) - สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน  ผลการประเมิน มีผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดับดี “ ดี ”  โรงเรียนคุณธรรม ประสบผลสำเร็จ  นักเรียนมีความประพฤติดี  มีหน่วยงานมาศึกษาดูงานจำนวนมาก /

43 2. แปลงนโยบายเป็นหลักปฏิบัติ แปลงคุณธรรม 3 ตัว ให้มาเป็นพฤติกรรมของ
 สรุป...เหตุที่โรงเรียนคุณธรรม ประสบผลสำเร็จ เพราะมีการเปลี่ยนแปลง 2 ประการ 1. กำหนดคุณธรรม กำหนด 3 ตัว (อัตลักษณ์) คือ ความซื่อสัตย์ รับผิดชอบและความพอเพียง 2. แปลงนโยบายเป็นหลักปฏิบัติ แปลงคุณธรรม 3 ตัว ให้มาเป็นพฤติกรรมของ ผู้บริหาร ครู และนักเรียน มีนโยบายอย่างไรเพื่อ แสดงให้เห็นว่ามีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบและจิต อาสาต่อตนเอง และต่อสังคม ทำให้แตกต่างจาก โรงเรียนอื่น โดยมุ่งเน้นที่ตัวนักเรียนเท่านั้น

44 3.1 มีความซื่อสัตย์ ต่อตนเองและสังคม
3. การปฏิบัติตามคุณธรรม 3 ตัว ของนักเรียน ครู ผู้บริหาร 3.1 มีความซื่อสัตย์ ต่อตนเองและสังคม  ต้องปฏิบัติตนอย่างไร  ต้องมีกิจกรรมอะไรบ้าง 3.2 มีความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม 3.3 มีความพอเพียง ต่อตนเองและสังคม

45 ปรับเป็น “โรงพยาบาลคุณภาพคู่คุณธรรม”
โรงพยาบาลคุณธรรมต้นแบบ ปรับเป็น “โรงพยาบาลคุณภาพคู่คุณธรรม” ปี 2558

46 การค้นหาอัตลักษณ์ของโรงพยาบาล
46

47 คำว่า “อัตลักษณ์” พจนานุกรม ไม่ได้ให้ความหมายไว้
“อัตตะ” คือ ตัวตน, ของตน “ลักษณะ” คือ เครื่องแสดงสิ่งหนึ่งให้เห็นว่า แตกต่างกับอีกสิ่งหนึ่ง, คุณภาพ “อัตลักษณ์” หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะตัวที่ดีของบุคคล หน่วยงาน ชุมชน สังคม หรือประเทศ ซึ่งอาจเป็นคุณลักษณะ ที่ไม่เหมือนกับบุคคลอื่น “คุณธรรม” คือ คุณงามความดี อัตลักษณ์ บางท่านให้ความหมายว่าคือ “คุณธรรม”

48  ประชุมชี้แจง ให้บุคลากรของโรงพยาบาลทราบ
 การค้นหา “อัตลักษณ์” ของโรงพยาบาล  ประชุมชี้แจง ให้บุคลากรของโรงพยาบาลทราบ ว่ากระทรวงมีนโยบายให้โรงพยาบาลในสังกัดเป็น โรงพยาบาลคุณธรรม ซึ่งต้องทำตามนโยบาย  การประชุมชี้แจง อาจเชิญประชุม หรือมอบให้ หัวหน้าหน่วยงานเป็นผู้ชี้แจงก็ได้  ชี้แจงให้เข้าใจว่า หน่วยงาน หรือโรงพยาบาล คุณธรรม ต้องบริหารงานอย่างไร

49  คือหน่วยงานที่มีการบริหารจัดการด้วยความ
 หน่วยงานคุณธรรม....(ตัวอย่าง)  คือหน่วยงานที่มีการบริหารจัดการด้วยความ ซื่อสัตย์ โปร่งใส ยึดมั่นในกฎหมาย มุ่งผลสำเร็จของงาน ประหยัด มีจริยธรรม มีน้ำใจ เคารพในศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ ของผู้รับบริการและบุคคลอื่น เพื่อประโยชน์ของ ประชาชนและราชการ  ให้บุคลากรถามตัวเองว่า เราหรือหน่วยงานของ เราจะปฏิบัติงานอย่าง ให้ผู้มารับบริการและเพื่อนร่วมงาน มีความสุขและประทับใจ ผลงานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัด เช่น...

50 1. หน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง มีหน้าที่และรับผิดชอบ
 การจัดซื้อจัดจ้าง  ถูกต้องตามระเบียบ  ราคาถูก  ของมีคุณภาพ  ไม่เอื้อประโยชน์ให้ผู้ขาย คนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ  ไม่เรียกรับประโยชน์ที่มิชอบ/ ผู้มารับบริการและเพื่อน ร่วมงานมีความสุข และ ประทับใจ ผลงานสำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพและ ประหยัด “อัตลักษณ์” “คุณธรรม” คือ รับผิดชอบ ประหยัด โปร่งใส ซื่อสัตย์

51  ไม่ใช้รถในกิจการส่วนตัว  บริการประทับใจ  นำรถไปเติมน้ำมัน
2. หน่วยงานยานพาหนะ มีหน้าที่และรับผิดชอบ  ขับรถยนต์ไปราชการ  ยึดกฎจราจร มีน้ำใจ  ไม่ใช้รถในกิจการส่วนตัว  บริการประทับใจ  นำรถไปเติมน้ำมัน  ไม่ยักยอกน้ำมัน  ดูแลรักษารถยนต์  รถต้องสะอาด  ดูแลเครื่องยนต์  ไม่ทุจริตการซ่อมรถ ผู้มารับบริการและเพื่อน ร่วมงานมีความสุข และ ประทับใจ ผลงานสำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพและ ประหยัด “อัตลักษณ์” “คุณธรรม” คือ รับผิดชอบ มีน้ำใจ ซื่อสัตย์

52 3. หน่วยงานแพทย์ มีหน้าที่และรับผิดชอบ
 การตรวจ รักษาผู้ป่วย  สุภาพ มีน้ำใจ ตรงต่อเวลา  ได้มาตรฐาน  การวินิจฉัยโรค  เป็นไปตามหลักวิชา  การให้ยาผู้ป่วย  สมเหตุสมผล โปร่งใส  ยามีคุณภาพ  ไม่นำยาไปใช้ส่วนตัว ผู้มารับบริการและเพื่อน ร่วมงานมีความสุข และ ประทับใจ ผลงานสำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพและ ประหยัด “อัตลักษณ์” “คุณธรรม” คือ ซื่อสัตย์ โปร่งใส มีน้ำใจ รับผิดชอบ

53 4. หน่วยงานพยาบาล มีหน้าที่และรับผิดชอบ
 การดูแลรักษาผู้ป่วย  สุภาพ มีน้ำใจ อดทน  มีจิตบริการ  ได้มาตรฐาน  รับผิดชอบ  งานอื่นๆ  สามัคคี  ประหยัด ผู้มารับบริการและเพื่อน ร่วมงานมีความสุข และ ประทับใจ ผลงานสำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพและ ประหยัด “อัตลักษณ์” “คุณธรรม” คือ ซื่อสัตย์ สามัคคี มีจิตบริการ รับผิดชอบ

54 - ออกแบบสอบถามความเห็นของบุคลากร เพื่อให้ได้
 วิธีการหาอัตลักษณ์  ขั้นตอนที่ 1 - ออกแบบสอบถามความเห็นของบุคลากร เพื่อให้ได้ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์/พฤติกรรมที่พึงประสงค์  ขั้นตอนที่ 2 -นำพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์/พฤติกรรมที่พึงประสงค์ มาลำดับความสำคัญ  ขั้นตอนที่ 3 - คัดเลือกพฤติกรรมที่มีการเสนอมากที่สุด  ขั้นตอนที่ 4 - นำพฤติกรรม มาแปลเป็นอัตลักษณ์/

55  พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ พูดจาไม่สุภาพ, ไม่อุทิศเวลา,
ถ้าไม่ใช่หน้าที่จะไม่ทำ,ไม่ช่วย เหลือใคร  พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พูดจาสุภาพ, อุทิศเวลา, ช่วยเหลือผู้อื่นทั้งเรื่องาน และเรื่องส่วนตัว แปลแล้วได้...อัตลักษณ์ คือ มีน้ำใจ,มีจิตบริการ  พฤติกรรม คือ ไม่เรียก % , ไม่เอื้อประโยชน์ ให้ใคร, ไม่นำของไปใช้ส่วนตัว, ไม่ซื้อของตัวเอง หรือญาติ แปลแล้วได้...อัตลักษณ์ คือ ซื่อสัตย์, โปร่งใส

56 1. หน่วยงานมีนโยบายหน่วยงานคุณธรรม
 ขั้นตอนการดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม  ขั้นตอนที่ 1 1. หน่วยงานมีนโยบายหน่วยงานคุณธรรม 2. หน่วยงานมีการประชุมชี้แจงนโยบาย 3. แต่งตั้งคณะกรรมการคุณธรรม หรือมอบหมาย ให้หน่วยงานใดรับผิดชอบ 4. หน่วยงานหาประเด็นคุณธรรม(อัตลักษณ์) ร่วม ที่บุคลากรตกลงยึดเป็นข้อปฏิบัติ 5. ประกาศอัตลักษณ์บุคลากรของหน่วยงาน และถือเป็น “สัญญาประชาคม” ร่วมกัน

57  หน่วยงานจัดทำแผนหน่วยงานคุณธรรม (นำอัตลักษณ์ มาเป็นตัวกำหนดแผนด้วย)
 ขั้นตอนที่ 2  หน่วยงานจัดทำแผนหน่วยงานคุณธรรม (นำอัตลักษณ์ มาเป็นตัวกำหนดแผนด้วย) เช่น อัตลักษณ์ - มีวินัย  แผนคือ - บุคลากรทุกคนมีวินัย  โครงการ/กิจกรรม 1. จัดอบรมวินัย 2. มีการควบคุมให้อยู่ในกรอบวินัย - โดยผู้บังคับบัญชา,เพื่อนร่วมงาน 3. ประกวดคนดี

58  หน่วยงานดำเนินตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  ขั้นตอนที่ 4
 ขั้นตอนที่ 3  หน่วยงานดำเนินตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  ขั้นตอนที่ 4  หน่วยงานมีผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผน เช่น ผลการประเมิน...ความพึงพอใจ ความสุข ของผู้ให้ บริการและผู้รับบริการ  ขั้นตอนที่ 5  หน่วยงานมีการประเมินผลการดำเนินการทั้งหมด  หน่วยงานมีการปรับปรุงแผนงาน เพื่อพัฒนาต่อไป

59 การประเมินผลหน่วยงานคุณธรรม โครงการ/กิจกรรม เอกสารประกอบ การประเมิน
ระดับ โครงการ/กิจกรรม เอกสารประกอบ การประเมิน คะแนน ที่ได้ 1 -ประชุมชี้แจงนโยบาย -หาอัตลักษณ์ -มีนโยบาย/รายงานประชุม -มีอัตลักษณ์ (1-10%) 2 - มี 1+ มีแผนงาน - มีเอกสารแผนงาน / (11-20%) 3 มี 1+ มี 2 มีการดำเนินการตามแผน - มีเอกสารการดำเนินการ ( 21-30%) 4 - มี 1+ มี 2+ มี 3 -มีผลลัพธ์การดำเนินการ - มีเอกสารการประเมิน ( 31-40%) 5 มี 1+มี 2 +มี 3 +มี 4 - มีการประเมินผล - มีเอกสารเป็นรูปเล่ม ( 41-50%)

60 ความสำเร็จของโรงพยาบาลคุณธรรม ใครเป็นคนประเมิน ...............
โรงพยาบาลคุณธรรมจะสำเร็จได้ บุคลกรทุกคน ต้องร่วมกันคิดและร่วมกันทำ ถ้ามีการคิดให้ หรือมีการสั่งให้ทำ โรงพยาบาลคุณธรรมไม่มีทางสำเร็จได้เลย

61 ในการปฏิบัติงานอย่างมีความสุข
เรื่อง การสร้างวินัย ในการปฏิบัติงานอย่างมีความสุข นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ อดีต นิติกรเชี่ยวชาญ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

62 วินัยเจ้าหน้าที่ของรัฐ  ข้าราชการ
 ลูกจ้างประจำ  พนักงานราชการ  พนักงานกระทรวง  ลูกจ้างชั่วคราว  ลูกจ้างอื่นๆ มีวินัย ไม่มีวินัย 62

63  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 วินัยข้าราชการพลเรือน  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551  วินัยลูกจ้างประจำ  ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ. 2537  วินัยพนักงานราชการ  กรณีร้ายแรง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547  กรณีไม่ร้ายแรง ส่วนราชการ (กรม) กำหนดเอง  วินัยพนักงานกระทรวง  อนุโลมวินัยลูกจ้างประจำมาใช้บังคับ

64 “ กฎหมายนั้น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้อง
การใช้หรือการตีความกฎหมาย  มาตรา 4 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “ กฎหมายนั้น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้อง ด้วยบทบัญญัติใดๆ แห่งกฎหมายตามตัวอักษร หรือ ความมุ่งหมายของบทบัญญัตินั้นๆ.... ” เช่น.. ห้ามญาติผู้ป่วยเข้า

65 คือเหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายฉบับนั้นๆ ว่า
 หลักการของกฎหมาย... คือเหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายฉบับนั้นๆ ว่า กฎหมายมีวัตถุประสงค์อะไร ต้องการคุ้มครองใคร หรือ คุ้มครองสิ่งใด หรือ ตัดสิทธิใคร เมื่อรู้วัตถุประสงค์แล้ว จะได้ใช้กฎหมาย หรือ ตีความกฎหมายไห้ถูกต้อง ห้ามเด็ดดอกไม้ เช่น...การชดใช้ทุนของพยาบาลวิชาชีพ(ลูกจ้าง) เมื่อได้รับการ บรรจุเป็นข้าราชการ ซึ่งต้องลาออกจากลูกจ้างก่อน ( ในสัญญา ระบุว่ากรณีลาออกและยังชดใช้ทุนไม่หมด ต้องชดใช้ทุนที่เหลือและค่าเสียหาย)

66 วินัยข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. 2551 ความหมายของวินัยคือ...
1. ข้อห้ามและข้อให้ปฏิบัติ ตามที่กฎหมายกำหนดให้ข้าราชการ ประพฤติหรือปฏิบัติ ผู้ใดมีเจตนาฝ่าฝืนหรือประมาทเลินเล่อใน หน้าที่ราชการ ผู้นั้นเป็นผู้กระทำผิดวินัย หรือ 2. แบบแผนความประพฤติ ที่กำหนดให้ข้าราชการพึงควบคุม ตนเองและควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ประพฤติหรือปฏิบัติตาม ที่กฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการกำหนดไว้ 3. กรอบของกฎหมายและระเบียบราชการ ที่กำหนดให้เจ้าหน้าที่ ของรัฐปฏิบัติตาม ผู้ใดฝ่าฝืนผู้นั้นเป็นผู้กระทำผิดวินัย 66

67 ความหมาย “วินัย” พฤติกรรม งานราชการ เรื่องส่วนตัว 67

68 เหตุที่นำความประพฤติส่วนตัวมาอยู่ในกรอบของวินัย
ฝ่ายการเมือง/รัฐบาล เป็นแบบอย่างที่ดี นโยบายรัฐบาล ข้าราชการ/จนท. ความประพฤติส่วนตัว วินัย...จึงใช้ควบคุมความประพฤติข้าราชการ/จนท. ทั้ง 24 ช.ม. 68

69 ขอบเขตของวินัยข้าราชการ
 ขอบเขตของวินัย ? ควรจำกัดอยู่ในกรอบของจุดมุ่งหมายเท่านั้น  กรอบของจุดมุ่งหมาย คือ...  เพื่อประชาชน...บริการ, แบบอย่างที่ดี  เพื่อราชการ...ผลงาน, เชื่อเสียง การกระทำที่ไม่กระทบต่อกรอบของจุดมุ่งหมาย ก็ไม่ควรอยู่ในข่ายของวินัยข้าราชการ 69

70 แม้การกระทำนั้นจะเป็น
เรื่องเดียวกัน มาตรา 82(7) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีกัน กรอบของจุดมุ่งหมาย ตัวอย่าง... A A  การกระทำ A ไม่กระทบต่อกรอบ... ไม่ผิดวินัย  การกระทำ A กระทบต่อกรอบ ผิดวินัย 70

71 ตัวอย่าง : กรอบของจุดมุ่งหมาย...เรื่องการแต่งกาย
 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2516 เรื่องการไว้ผมและแต่งกายเพื่อเป็นแบบอย่างแก่ประชาชน .ข้าราชการ,ลูกจ้างชาย ไม่ให้ไว้ผมยาวปิดตีนผม .ข้าราชการ,ลูกจ้าง หญิง ไม่ให้สวมกระโปรงสั้นเหนือเข่า .ข้าราชการ,ลูกจ้าง ชายและหญิง ไม่ให้คาดเข็มขัดใต้สะดือ “ ให้ถือว่าไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา” 71

72 ความสำคัญของวินัย 3. เจ้าหน้าที่
1. รัฐบาล 2. ราชการ 3. เจ้าหน้าที่ 4. ผู้บังคับบัญชา 72

73 การลงโทษทางวินัย : กับข้าราชการบางตำแหน่ง
 ข้าราชการทั่วไป ต้องเป็นแบบอย่าที่ดี  ข้าราชการตำแหน่งที่ต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีมาก เช่น ธุรการ, การเงิน นักจัดการงานทั่วไป, บุคลากรทางการแพทย์ เช่น ครู, อาจารย์ ผู้พิพากษา, อัยการ ตำรวจ, นักกฎหมาย การพนัน,อนาจาร,ชู้สาว 73

74 การกระทำ...กระทบต่อกรอบรุนแรงแค่ไหน
โทษทางวินัยมี 5 สถาน  ไม่ร้ายแรง  ร้ายแรง 1. ภาคทัณฑ์ 1. ปลดออก 2. ตัดเงินเดือน(2% หรือ 4% เป็นเวลา 1,2 หรือ 3 เดือน) 2. ไล่ออก 3. ลดเงินเดือน (2 % หรือ 4 %) การกระทำ...กระทบต่อกรอบรุนแรงแค่ไหน 74

75 มติ ค.ร.ม.ที่ นร 0205/ว 234 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2536
การลงโทษผู้กระทำผิดวินัย 2 กรณี ดังนี้ 1. กรณีทุจริตต่อหน้าที่ราชการ 2. กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกัน เป็นเวลาเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร และไม่กลับมาปฏิบัติราชการอีกเลย ควรลงโทษไล่ออกจากราชการ การนำเงินมาคืน หรือมีเหตุลดหย่อนอย่างอื่น ก็ไม่อาจลดหย่อนโทษได้ 75

76 1. หย่อนความสามารถ, .การให้ออกจากราชการ ตาม ม.110 (6) กรณี
นอกจากปลดออก และไล่ออก แล้วยังมี... .การให้ออกจากราชการ ตาม ม.110 (6) กรณี 1. หย่อนความสามารถ, 2. บกพร่องในหน้าที่ราชการ หรือ 3. ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ราชการ .การให้ออกจากราชการ ตาม ม.110 (7) กรณี - มีมลทินหรือมัวหมอง ในเรื่องที่ถูกสอบสวน มีเงื่อนไข 1. ถ้าให้รับราชการต่อไป จะเป็นการเสียหายแก่ราชการ 2. ต้องมีการสอบสวน 76

77 การลงโทษทางวินัยไม่ร้ายแรง (ม.96)
มาตรา ผู้ใดกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิด ในกรณีมีเหตุอันควรลดหย่อน จะนำมาประกอบ การพิจารณาลดโทษก็ได้ ในกรณีการกระทำผิดวินัย เล็กน้อย และมีเหตุ อันควรงดโทษ จะงดโทษให้ โดยให้ทำทัณฑ์บนเป็น หนังสือ หรือว่ากล่าวตักเตือนก็ได้.

78 การลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง (ม. 97)
■ ส่วนภูมิภาค ►ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งลงโทษ ตามมติ อ.ก.พ.จังหวัด ■ ส่วนกลาง ►อธิบดีกรมสั่งโทษตามมติ อ.ก.พ.กรม, อ.ก.พ.กระทรวง.

79 หน้าที่ของข้าราชการ วรรค 1 ข้าราชการต้องรักษาวินัยโดยกระทำ การหรือไม่กระทำการ ตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ วรรค 2 ข้าราชการผู้ปฏิบัติราชการ ในต่าง ประเทศ นอกจากต้องรักษาวินัย ตามที่บัญญัติไว้ ในหมวดนี้แล้ว ต้องรักษาวินัยโดยกระทำการ หรือ ไม่กระทำการตามที่กำหนดไว้ในกฎ ก.พ. ด้วย มาตรา 80

80 หน้าที่ของผู้บังคับบัญชาในเรื่องวินัย
มาตรา ให้ผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่ เสริมสร้างและพัฒนา ให้ผู้ใต้บังคับบัญชามี วินัย และป้องกันมิให้ผู้ใต้บังคับบัญชากระทำ ผิดวินัย

81 โครงสร้างวินัยข้าราชการ
 ข้าราชการต้องมีวินัย ต่อ 1. ประเทศชาติ ม. 81 2. ตำแหน่งหน้าที่ราชการ ม. 82(1)(2)(3)(5) (6)(9), ม. 83(3)(4)(5), ม. 85(1)(2)(3) 3. ผู้บังคับบัญชา ม. 82(4), ม. 83(1)(2) 4. ผู้ร่วมงาน ม. 82(7), ม. 83(7) 5. ประชาชน ม. 82(8), ม. 83(9), ม. 85(5) 6. ตนเอง ม. 82(10), ม. 83(6)(8), ม. 85(4)(6).

82 หมวดที่ 6 วินัยและการรักษาวินัย (พ.ศ. 2551)
ลักษณะการบัญญัติกฎหมาย ให้กระทำการอัน เป็นข้อปฏิบัติ (ม. 82) ต้องไม่กระทำการ อันเป็นข้อห้าม (ม. 83) การกระทำผิด วินัยอย่างร้ายแรง (ม. 85) 1. เป็นเงิน 2. ชื่อเสียง 3. ความเชื่อถือ ถ้าเกิดผลเสียหายต่อทางราชการอย่างร้ายแรง ก็เป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรง ม. 85(7) 82 82

83 ข้อกำหนด วินัยข้าราชการพลเรือน
1. วินัยต่อประเทศชาติ มาตรา 81 ข้าราชการต้องสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ด้วย ความบริสุทธิ์ใจ

84  2. วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ คำว่า “หน้าที่ราชการ”
1. หน้าที่โดยตรง 2. หน้าที่ทั่วไป คือหน้าที่ตาม... - กฎหมาย หรือระเบียบ - มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง - คำสั่งหรือการมอบหมาย ของผู้บังคับบัญชา - พฤตินัย คือมิใช่หน้าที่ตามข้อ 1 - ลงชื่อมาทำงาน - เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงฯ - เบิกเช่าบ้าน,ค่ารักษาฯ - เบิกเงินอื่นๆ ในทำนอง เดียวกัน คำว่า “ปฏิบัติหน้าที่ราชการ” และ “ การปฏิบัติราชการ”

85 2.1 ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความ ซื่อสัตย์
สุจริตและเที่ยงธรรม มาตรา 82(1) ซื่อสัตย์.. ตรงไปตรงมา,ไม่คดโกง,ไม่หลอกลวง สุจริต..ที่ดีที่ชอบตามคลองธรรม เที่ยงธรรม..ไม่ลำเอียง เช่น - การพิจารณาการเลื่อนระดับ, การย้าย, การสอบสวนทางวินัย - การพิจารณาการอนุญาต,การอนุมัติ / (ผู้บริหารกับขอรถประจำตำแหน่ง หรือขอเป็นเงิน ...แต่ยังใช้รถราชการ)

86 2.2 ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่ง
หน้าที่ราชการของตน หาประโยชน์ ให้แก่ตนเอง หรือ ผู้อื่น มาตรา 83(3)  อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน ประโยชน์..เป็นประโยชน์ที่ควรได้ 2.3 ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้เกิดผลดีหรือความ ก้าวหน้าแก่ราชการ ด้วยความ ตั้งใจ อุตสาหะ เอาใจใส่ และรักษาประโยชน์ของทางราชการ มาตรา 82(3) เช่น – งานล่าช้า,งานเสียหาย, - การรักษาผู้ป่วย อุบัติเหตุ, ไข้เลือดออก, ปวดท้อง แพทย์ เภสัชกร หมออนามัย กรณีผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม 86

87 2.4 การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ
เพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต (ม.85(1)..ร้ายแรง) (1) การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด - พยาบาลเวรฉีด Phenobarb 15 cc ให้ผู้ป่วยตามคำสั่งแพทย์ - แพทย์ ทำหมันไม่บอกคนไข้, Mercy Killing - แพทย์ ละทิ้งการผ่าตัด ไปทำคลอดที่ ร.พ. เอกชน - พยาบาล..ให้มอร์ฟีนผู้ป่วย, ให้ยาพิษผู้ป่วย

88 คือการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
 ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ...ไล่ออกสถานเดียว คือการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่มิควรได้ - จัดโครงการอบรมเท็จ...ไม่ได้จัด,จัดไม่ครบ,จัดไม่ตรงสถานที่ - แพทย์ยิงยา, จ่ายยาเพื่อเข้าคลินิกตัวเอง - เภสัชกร ขโมยยา, ปลอมลายมือชื่อเบิกยา - เภสัชกร และ ผอ.รพช. ร่วมกันจำหน่ายยาโดยมิชอบ - การทุจริตเงินราชการ, การทุจริตกรณีจัดซื้อจัดจ้าง

89 2.5 ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็น ไปตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี นโยบายของ รัฐบาล และ ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ มาตรา 82(2)

90  กฎหมาย, กฎ กฎหมาย หรือ กฎ ใดก็ได้  ระเบียบของทางราชการ ต้องเป็นระเบียบเฉพาะ เช่น ระเบียบการเงิน, ระเบียบพัสดุ, ระเบียบการใช้รถยนต์ราชการ  ระเบียบแบบแผนของทางราชการ เป็นระเบียบแบบแผนทั่วไปที่เจ้าหน้าที่ทุกคน ต้องปฏิบัติ

91 “ แบบแผน” คือขนบธรรมเนียมที่กำหนดไว้ หรือเคย
 ระเบียบแบบแผนของทางราชการ ตาม ม. 82(2) “ แบบแผน” คือขนบธรรมเนียมที่กำหนดไว้ หรือเคย ประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา 1. เป็นระเบียบแบบแผนของทางราชการทั่วไป 2. กำหนดหน้าที่ทั่วไปที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม 3. ไม่จำเป็นต้องกำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร  ระเบียบลงชื่อมาปฏิบัติราชการ  ระเบียบการแต่งกาย  ระเบียบการลาหยุดราชการ  แบบแผนในการเสนองานต่อผู้บังคับบัญชา

92 ระเบียบการลาหยุดราชการ
1. การลาป่วย (1) ตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์ (2) ไม่ถึง 30 วัน ผบ. จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์ หรือ ให้ไปรับการตรวจจากแพทย์ก็ได้ ปัญหา...ระหว่างป่วย ผู้ลาไม่ได้ไปพบแพทย์..? 2. การลาคลอดบุตร...นับวันหยุดด้วย (1) เป็นการลาหยุด ช่วงก่อนคลอดและหลังคลอด (2) สิทธิลาคลอดครั้งหนึ่ง ได้เงินเดือนระหว่างลา 90 วัน ปัญหา..คลอดแล้ว บุตรตายทันที จะหยุด 90 วัน ? ระเบียบการลาหยุดราชการ 92

93 (1) การลากิจส่วนตัวด้วยเหตุอื่นๆ
3. การลากิจส่วนตัว (1) การลากิจส่วนตัวด้วยเหตุอื่นๆ  กรณีเหตุธรรมดา ต้องมีคำสั่งอนุญาตก่อน  กรณีเหตุจำเป็น คือไม่อาจรอรับคำสั่งอนุญาตได้  กรณีเหตุพิเศษ คือไม่อาจส่งใบลาก่อนได้ ใน 1 ปี ระหว่างลากิจ จะได้เงินเดือน 45 วัน (เช่น.. ในปี 2558 ไดรับอนุมัติ 90 วัน จะได้เงินเดือน 45 วัน) ปัญหา...ข้าราชการบรรจุใหม่ ลาได้..? 93

94  ให้ลาได้ 150 วัน โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา
(2) การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร  ให้มีสิทธิลาต่อเนื่องจากการลาคลอด ไม่นับวันหยุด  ให้ลาได้ 150 วัน โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา .การลาหยุด ที่ไม่ได้เงินเดือนระหว่างลา ....กระทบต่ออะไร? 4. การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร  เป็นภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายแพ่งฯ  ส่งใบลาภายใน 90 วัน นับแต่ภริยาคลอดและมีสิทธิลา  ลาครั้งหนึ่งติดต่อกันไม่เกิน 15 วัน ไม่นับวันหยุด  ระหว่างหยุดราชการ เรียกกลับมาปฏิบัติราชการได้ 94

95  ใน 1 ปีงบประมาณ มีสิทธิลาได้ 10 วัน
5. การลาพักผ่อน  ใน 1 ปีงบประมาณ มีสิทธิลาได้ 10 วัน กรณีบรรจุยังไม่ครบ 6 เดือน ไม่มีสิทธิลา  ถ้าปีนั้น ไม่ได้ลาหรือลาไม่ครบ ให้นำวันลา มาสะสมในปีต่อไปได้ แต่เมื่อรวมกับในปีปัจจุบันแล้ว ต้องไม่เกิน 20 วัน ถ้ารับราชการ มาไม่น้อยกว่า 10 ปีติดต่อกัน ให้สะสมได้ไม่เกิน 30 วัน ปัญหา..1. ข้าราชการบรรจุวันที่ 1 เมษายน ของปี ลาได้..? 2. ข้าราชการได้รับอนุญาตให้ลาศึกษาต่อ 2 ปี..? 95

96 6. การลาอุปสมบท หรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์
.อุปสมบทในพระพุทธศาสนา หรือลาไปประกอบ พิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย (1) ให้ส่งใบลาตามระเบียบ ก่อนอุปสมบทหรือวัน ออกเดินทางไปประกอบพิธีฯ ไม่น้อยกว่า 60 วัน (2) เมื่อได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ลาอุปสมบท หรือได้รับอนุญาตให้ไปประกอบพิธีฯ ต้อง ดำเนินการภายใน 10 วัน (3) ต้องกลับมารายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการ ภายใน 5 วัน นับแต่วันลาสิกขา หรือวันเดินทางถึงประเทศไทย 96

97 การไปถือศีลและปฏิบัติธรรม...ไม่ถือเป็นวันลา
มติครม. ที่นร 0506/ว(ล) 23801,17 ธันวาคม 2550 1. ให้ข้าราชการสตรี ไปถือศีลและปฏิบัติธรรม 2. ครั้งหนึ่งตลอดอายุราชการ 3. เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 1 เดือน แต่ไม่เกิน 3 เดือน 4. ถือศีลแล้วต้องอยู่ในสำนักปฏิบัติธรรม 5. ถือศีล 8 นุ่งขาว ห่มขาว 6. สถานที่ปฏิบัติธรรม ต้องได้รับการรับรอง จากสำนักพุทธศาสนา (มี 313 วัด) ผลสำรวจ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ซื่อสัตย์สุจริต

98 การนับวันลาตามระเบียบนี้
1. การนับเพื่อเสนอหรือจัดส่งใบลา อนุญาตให้ลา และคำนวณวันลา ให้นับวันหยุดที่อยู่ระหว่างวันลาด้วย -การนับเพื่อเสนอหรือส่งใบลา เช่น การลาไปช่วยภริยา ที่คลอดบุตร ต้องส่งใบลาภายใน 90 วัน...ให้นับวันหยุดด้วย -นับเพื่ออนุญาตลา เช่น ผอ. กอง มีอำนาจอนุญาต ลากิจได้ 30 วัน มีผู้ขอลากิจตั้งแต่ 1-31 พ.ค. 57 ? ***ข้อยกเว้น การนับเพื่อคำนวณวันลาของผู้ลา ไม่นับวัน หยุด คือ ลาป่วย ลาไปช่วยภริยาฯ ลากิจส่วนตัว ลาพักผ่อน 2. การลาครึ่งวันเช้าหรือครึ่งวันบ่าย ให้นับครึ่งวัน 3. ลาไปช่วยภริยาฯ ลากิจฯ ลาพักผ่อน..เรียกตัวกลับได้ การนับวันลาตามระเบียบนี้ 98

99 .กรณีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับระเบียบลา
1. การลาที่มีวันหยุดติดกับวันลา หรือมีวันหยุดอยู่ระหว่างวัน ลา ให้ผู้มีอำนาจใช้ดุลพินิจพิจารณาตามความเหมาะสม 2. ผู้มีอำนาจอนุญาตลาจะมอบหมาย หรือมอบอำนาจเป็นหนังสือ ให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นอนุญาตแทนได้ 3. นำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการเสนอใบลา อนุญาตให้ลา และยกเลิกวันลา สำหรับ ลาป่วย ลากิจ ลาพักผ่อน 4. การไปต่างประเทศ ในระหว่างการลา หรือในระหว่างวันหยุด ให้ขออนุญาต ผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น 5. การขออนุญาตไปต่างประเทศ ซึ่งอยู่ติดชายแดนประเทศ ไทย ให้ขอผู้ว่าฯ ครั้งหนึ่ง 7 วัน นายอำเภอครั้งหนึ่ง 3 วัน 99

100 .ข้าราชการที่ไม่ได้มาปฏิบัติราชการ จะต้องส่ง
การมาปฏิบัติราชการไม่ได้ เนื่องจากพฤติการณ์พิเศษ .ข้าราชการที่ไม่ได้มาปฏิบัติราชการ จะต้องส่ง ใบลาเพื่อขอลาหยุดราชการ ทุกกรณีหรือไม่? 1. มีพฤติการณ์พิเศษเกิดขึ้น 2. พฤติการณ์พิเศษ มิได้เกิดประมาทเลินเล่อ หรือความผิดของผู้นั้น 3.พฤติการณ์พิเศษนั้นร้ายแรง เป็นเหตุขัดขวาง ทำให้ไม่สามารถมาปฏิบัติราชการได้ 4. ให้รายงานพฤติการณ์พิเศษและอุปสรรคขัดขวาง ที่ทำให้มาปฏิบัติราชการไม่ได้ต่อ ผบ. จนถึงหัวหน้า ส่วนราชการ (สั่ง...ให้การหยุดราชการไม่นับเป็นวันลา) 5. ถ้าเห็นว่า..พฤติการณ์ไม่ร้ายแรง ให้ถือว่าเป็นการลากิจ ไม่ -ศาล,ตำรวจ มีหมายเรียก -ถูกคุมขัง 100

101  การไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ
มติคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาล และ ระเบียบแบบแผน ของทางราชการ เช่น 1. การลงนามตรวจรับพัสดุ โดยไม่ได้ไปดูของ 2. ลงนามในเช็ค โดยไม่ขีดคร่อม หรือขีดฆ่าคำว่าหรือผู้ถือ 3. การปลอมลายมือชื่อผู้อื่น เพื่อถอนเงินราชการ 4. ให้บริษัทส่งยาและเวชภัณฑ์มาใช้ก่อน ทั้งๆที่ยังไม่มีคำสั่งซื้อ 5. การเดินทางไปต่างประเทศ โดยไม่ขออนุมัติผู้บังคับบัญชา/

102 2.6 ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ มาตรา 83(4)
คำว่า “ประมาท” หรือ “ประมาทเลินเล่อ”  ขาดความระมัดระวัง ขาดความรอบคอบใน เรื่องที่ใช้ความระมัดระวังได้ แต่ไม่ใช้หรือใช้ไม่เพียงพอ และเกิดความเสียหาย (ภาษาทั่วไป)  ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดย ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมี ตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ จึงเกิดความเสียหาย 2.6 ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ มาตรา 83(4)

103 1. การรักษาพยาบาล เช่น  ให้เลือดผิด, จ่ายยาผิด
.ตัวอย่าง กรณีประมาทเลินเล่อ 1. การรักษาพยาบาล เช่น  ให้เลือดผิด, จ่ายยาผิด 2. รถยนต์ของทางราชการ  การใช้รถราชการ  รถประสบอุบัติเหตุให้แจ้งความร้องทุกข์ทุกครั้ง (กค.ที่ 0508/ว , 19 กรกฎาคม 2525)  รถส่งต่อผู้ป่วย****** 3. กรณีของสูญหาย...ดูมีหน้าที่ดูแลรักษา การสื่อสารเชิงบวก

104 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับ
ของทางราชการ พ.ศ. 2544  ความลับของทางราชการ ? คือ ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ที่ไม่อาจเปิดเผย ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องทราบได้  ชั้นความลับของข้อมูลข่าวสาร มี 3 ชั้น 1. ลับที่สุด 2. ลับมาก 3. ลับ 2.7 ต้องรักษาความลับของทางราชการ มาตรา 82(6)

105 ความลับของทางราชการ 2. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
1. การเปิดเผยข้อมูลลับผู้ป่วย 2. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ 3. การดำเนินการทางวินัย 4. การเปิดเผยเอกสารลับของทางราชการ

106 หาผลประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรม หรือ
2.8 ต้องไม่กระทำการ หรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการ หาผลประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรม หรือ เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน มาตรา 83(5)  เที่ยงธรรม คือ เป็นธรรม  “เกียรติศักดิ์ ” ฐานะที่ได้รับการสรรเสริญ  ดูที่ตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน เช่น..พยาบาลยืมเงินคนไข้, การลัดคิวให้ผู้ป่วย

107 2.9 ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง ในการปฏิบัติ
หน้าที่ราชการ และในการปฏิบัติการอย่างอื่นที่เกี่ยวข้อง กับประชาชนกับจะต้องปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ ว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการด้วย มาตรา 82(9)  การวางตัวเป็นกลางทางการเมืองในเรื่อง 1. การปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2. การปฏิบัติการอย่างอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน

108 ระเบียบสำนักคณะรัฐมนตรี 1. ไม่ดำรงตำแหน่งในพรรคการเมืองฯ
ว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2499 1. ไม่ดำรงตำแหน่งในพรรคการเมืองฯ 2. ไม่ใช้สถานที่ราชการในกิจการทางการเมือง 3. ไม่วิพากษ์วิจารณ์การกระทำของรัฐบาลแก่ประชาชน 4. ไม่แต่งเครื่องแบบราชการไปร่วมประชุมพรรคการเมือง 5. ไม่ประดับเครื่องหมายพรรคฯ เวลาสวมเครื่องแบบราชการ 6. ไม่แต่งเครื่องแบบของพรรคฯ เข้าในสถานที่ราชการ 7. ไม่บังคับให้ ผต. หรือประชาชน เป็นสมาชิกพรรคการเมืองฯ 8. ไม่ขอร้องให้บุคคลอุทิศเงิน ทรัพย์สิน เพื่อประโยชน์แก่พรรคฯ 9. ไม่โฆษณาหาเสียง เพื่อประโยชน์แก่พรรคการเมืองฯ 10. ไม่ปฏิบัติหน้าที่แทรกแซงในทางการเมืองฯ 11. ในเวลาที่มีการเลือกตั้ง ไม่ช่วยเหลือ...ไม่กีดกันผู้สมัคร.../

109 1. ให้ส่วนราชการและองค์การของรัฐ ให้ความร่วมมือ
มติคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0216/ว141 ลงวันที่ 15 ก.ค. 2539 1. ให้ส่วนราชการและองค์การของรัฐ ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนการเลือกตั้งทุกครั้ง 2. ให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทุกประเภท ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง 3. ให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทุกประเภท ไม่ปฏิบัติที่ไม่ชอบ ทั้งที่เป็นคุณและเป็นโทษแก่ผู้สมัครรับฯ,พรรคการเมือง 4. ให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทุกประเภท ชักชวนบุคคลไปใช้สิทธิฯ 5. ให้ใช้สถานที่ราชการหาเสียงเลือกตั้งได้ ยกเว้นส่วนราชการ มีระเบียบห้ามไว้ 6. การใช้โรงเรียน สถานศึกษาของทางราชการหาเสียง ต้องไม่ กระทบต่อการเรียน การสอน ฯ

110 (1) ต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการจะละทิ้ง
2.10 กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการ (1) ต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการจะละทิ้ง หรือ ทอดทิ้งหน้าที่ราชการมิได้ มาตรา 82(5) (2) ละทิ้ง หรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการ โดยไม่มี เหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่าง ร้ายแรง มาตรา 85(2) (ผิดร้ายแรง) (3) ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกัน เป็นเวลาเกิน15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือโดย มีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ของทางราชการ มาตรา 85(3) (ผิดร้ายแรง)

111 1. คำว่า “อุทิศเวลาของตน” “ละทิ้ง” และ “ทอดทิ้ง”
 ความผิดฐานละทิ้งหน้าที่ราชการ 1. คำว่า “อุทิศเวลาของตน” “ละทิ้ง” และ “ทอดทิ้ง” 2. ระยะเวลาที่จะเรียกว่า ละทิ้ง หรือ ทอดทิ้ง 3. การนับวันละทิ้งหน้าที่ราชการ...กรณีมีวันหยุดระหว่าง วันละทิ้งให้นับด้วย(หักเงินเดือนด้วย) 4. ละทิ้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร 5. ละทิ้งโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบราชการ - การลาออกจากราชการ...ยื่นใบลาออก 6. ละทิ้ง หรือ ทอดทิ้ง แล้วเกิดความเสียหายร้ายแรง

112  ตัวอย่าง การละทิ้ง ไม่ละทิ้งหน้าที่
1. ผบ. โกรธ ผต. จึงไม่มอบงานให้ทำ ผต. ลงชื่อ มาทำงานแล้ว เดินเตร่ไปเตร่มา 2. ข้าราชการ ไม่ไปทำงาน 5 วัน เพราะป่วย ส่งใบลาป่วย โดยไม่มีใบรับรองแพทย์ ผบ. ไม่อนุญาต 3. ข้าราชการบรรจุใหม่ เมื่อไปรายงานตัวแล้ว หน่วยงาน ส่งไปอบรม แต่ไม่ไปอบรมและไม่มาทำงานอีกเลย ก.พ. ..ไม่ผิดฐานละทิ้งหน้าที่ แม้คำสั่งจะมีผลย้อนหลัง 4. ข้าราชการ ได้รับอนุญาตให้ลาศึกษาต่อภายในประเทศ เมื่อไปเรียนแล้ว ไม่ไปสอบ รู้แล้วว่าเรียนไม่จบ ไม่กลับมา ทำงาน...ไม่ผิดฐานละทิ้ง แต่อาจจะผิดฐานอื่น /

113 3. วินัยต่อผู้บังคับบัญชา
113

114 ซึ่งสั่ง ในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบ
3.1 ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่ง ในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบ ของทางราชการ โดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง แต่ถ้าเห็น ว่าการปฏิบัติตามคำสั่งนั้น จะทำให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทางราชการ จะต้อง เสนอความเห็นเป็นหนังสือทันที เพื่อให้ผู้บังคับบัญชา ทบทวนคำสั่งนั้นและเมื่อได้เสนอความเห็นแล้ว ผู้บังคับ บัญชายืนยันให้ปฏิบัติตามคำสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ต้องปฏิบัติตาม มาตรา 82(4)

115 คำสั่งของผู้บังคับบัญชา
การปฏิบัติตามคำสั่ง คำสั่งของผู้บังคับบัญชา ไม่ใช่คำสั่งของผู้บังคับบัญชา 1. ต้องชอบด้วย กม./ระเบียบ 1. ต้องชอบด้วย กม./ระเบียบ 2. ถ้าเห็นว่าจะเสียหาย/ไม่รักษาฯ 3. ต้องเสนอฯให้ ผบ.ทบทวน สั่งให้ฉีด Phenobarb 15 cc. 4. ถ้าไม่ทบทวน..ไม่ต้องปฏิบัติ 5. ถ้ายืนยันฯ..ต้องปฏิบัติตาม คำสั่งที่ไม่ชอบ...ถ้าปฏิบัติตามต้องร่วมกันรับผิด ตัวอย่าง....ผอ.รพช. ให้แก้สาเหตุการตาย

116 ผู้บังคับบัญชา  ผู้บังคับบัญชา มี 2 ประเภท 1. ผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย (1) มีกฎหมายกำหนดไว้ (2) ได้รับมอบอำนาจ จากผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ 2. ผู้บังคับบัญชา ไม่ตามกฎหมาย  อำนาจของผู้บังคับบัญชา มี 2 ประเภท 1. อำนาจผูกพัน 2. อำนาจดุลพินิจ

117 อำนาจของผู้บังคับบัญชา แบ่งได้ 2 ประเภท
1. อำนาจผูกพัน คืออำนาจที่กฎหมายกำหนดไว้ เป็นการล่วงหน้าว่า เมื่อมีข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่ง เกิดขึ้น ผู้บังคับบัญชาต้องสั่งการตามที่กฎหมายกำหนด ไม่อาจเลือกสั่งการเป็นอย่างอื่นได้ 2. อำนาจดุลพินิจ คืออำนาจที่ผู้บังคับบัญชามีอิสระ ในการที่จะเลือกตัดสินใจ ภายใต้ของกรอบของกฎหมาย เมื่อมีข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ว่าตนจะใช้อำนาจ หรือไม่ ถ้าจะใช้อำนาจก็ยังมีดุลพินิจอีกว่า จะเลือกสั่งอย่างไร และจะเลือกสั่งอย่างไรก็ถูกต้องทั้งหมด อำนาจของผู้บังคับบัญชา แบ่งได้ 2 ประเภท

118  การลากิจส่วนตัว... 1. ข้าราชการมีสิทธิลาพักผ่อน ปีหนึ่ง 10 วัน...
 การลาพักผ่อน.... 1. ข้าราชการมีสิทธิลาพักผ่อน ปีหนึ่ง 10 วัน... 2. ผบ. จะอนุญาตครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ โดยมิให้เสียหายแก่ราชการ...  การลากิจส่วนตัว...  การลากิจส่วนตัวด้วยเหตุอื่นๆ กรณีเหตุธรรมดา ต้องมีคำสั่งอนุญาตก่อน...  กรณีเหตุจำเป็น คือไม่อาจรอรับคำสั่งอนุญาตได้...  กรณีเหตุพิเศษ คือไม่อาจส่งใบลาก่อนได้... ผูกพัน ดุลพินิจ ดุลพินิจ ผูกพัน ผูกพัน 118

119 มีหลักพิจารณาอย่างไร จึงจะรู้ว่าเป็นอำนาจ “ผูกพัน หรือ ดุลพินิจ”
 ให้พิจารณาจากตัวบทประกอบเจตนารมณ์ของกฎหมาย 1. อำนาจผูกพัน กรณีเป็นสิทธิของข้าราชการ เป็นอำนาจผูกพัน เช่น 1.1 สิทธิลาพักผ่อน ปีหนึ่ง 10 วัน 1.2 สิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน 1.3 สิทธิลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร 15 วัน ***1.4 สิทธิขอลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตร 150 วัน - ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการลาได้ หรือไม่?

120 2. อำนาจดุลพินิจ....ภายใต้เงื่อนไข
-เจ้าหน้าที่มีอิสระในการตัดสินใจ ตัดสินใจอย่างไร ตัดสินใจอย่างไรก็ถูกทั้งหมด ภายใต้เงื่อนไข คือ ต้องอยู่ภายในกรอบของกฎหมาย คือเป็นไปตาม เจตนาและวัตถุประสงค์ของกฎหมายและปฏิบัติได้ เช่น - การย้าย, การเลื่อนระดับ, การโอน - การอนุญาต ให้ลากิจเหตุทั่วไป, ลาผักผ่อน - ให้ไปศึกษาต่อ, ให้ไปฝึกอบรม

121 1. ข้าราชการขอลาออกจากราชการ ผบ. สั่งว่า ไม่อนุญาต เนื่องจาก
ตัวอย่าง การใช้ดุลพินิจของผบ. โดยมิชอบ 1. ข้าราชการขอลาออกจากราชการ ผบ. สั่งว่า ไม่อนุญาต เนื่องจาก ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย  ให้หาคนมาแทนก่อน  ถูกสอบสวนทางวินัย  ต้องหาคดีอาญา  ยังใช้ทุนไม่หมด 2. การให้ข้าราชการเซ็นชื่อในใบลาออกไว้ 3. ให้ลงโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท

122 ตัวอย่าง 3.2 ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา การรายงาน
โดยปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง ถือว่าเป็นราย งานเท็จด้วย มาตรา 83(1)  รายงานเท็จ คือการบอกข้อเท็จจริง ที่ได้รู้เห็น หรือที่ทราบมา  รายงานเท็จ คือ....  รายงานไม่เป็นความจริง  รายงาน โดยปกปิดข้อความ ซึ่งควรต้องบอก ตัวอย่าง - การรายงานเท็จ เรื่องการเงิน คือเบิก เงินต่างๆ จากราชการ เป็นเท็จ...ผิดร้ายแรง -ผิดฐานประพฤติชั่ว ร้ายแรง

123 เฉพาะเรื่องการปฏิบัติราชการเท่านั้น
3.3 ต้องไม่ปฏิบัติราชการอันเป็นการกระทำการ ข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้นแต่ผู้บังคับบัญชา เหนือตนขึ้นไป เป็นผู้สั่งให้กระทำหรือได้รับอนุญาต เป็นพิเศษครั้งคราว มาตรา 83(2) เฉพาะเรื่องการปฏิบัติราชการเท่านั้น การอุทธรณ์, การร้องทุกข์,การร้องเรียน, การร้องขอความเป็นธรรม

124 4. วินัยต่อผู้ร่วมงาน และต้องช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการระหว่าง
4.1 ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี และต้องช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการระหว่าง ข้าราชการด้วยกัน และผู้ร่วมปฏิบัติราชการ มาตรา 82(7)

125 กดขี่ หรือข่มเหงกันในการปฏิบัติราชการ ม. 83(7)
4.2 ต้องไม่กระทำการอย่างใดที่เป็นการกลั่นแกล้ง กดขี่ หรือข่มเหงกันในการปฏิบัติราชการ ม. 83(7)  กลั่นแกล้ง...หาความไม่ดีใส่ให้ ...แกล้งใส่ความ  กดขี่...ข่มให้อยู่ในอำนาจ  ข่มเหง...ใช้กำลังรังแก ...แกล้งทำความเดือดร้อนให้ผู้อื่น

126  มติคณะรัฐมนตรี ปี 2505  ที่ น.ว. 11/2505 ลว. 15 กุมภาพันธ์ 2505 ให้ผู้บังคับบัญชา กำชับข้าราชการในสังกัด ร่วมมือ ร่วมใจทำงานด้วยความสามัคคีต่อกัน เพื่อประโยชน์ต่อ ส่วนรวมและประเทศชาติ ผู้ใดฝ่าฝืนให้พิจารณาลงโทษ ทางวินัยและถ้ายังไม่เข็ดหลาบก็ไม่ควรให้รับราชการต่อไป 1

127 1. แสดงออกด้วย กิริยา ท่าทาง
 พฤติกรรมที่ไม่สุภาพเรียบร้อย 1. แสดงออกด้วย กิริยา ท่าทาง เช่น มองด้วยสายตาอันเหยียดหยาม ยิ้มแสยะให้ 2. แสดงออกด้วย คำพูด ดูที่เจตนาของผู้พูด เช่น กู-มึง, คนอะไรไม่รู้ แก่ก็แก่ หัวก็หงอก พูดไม่รู้เรื่อง สมองก็ไม่มีร่อง 3. แสดงออกด้วย ลายลักษณ์อักษร ดูที่เจตนาของผู้เขียน “ ทราบ แต่ไม่เห็นด้วย ” “ ความคิดเหมือนไดโนเสาร์ ” “ คันเท้า ยิบๆๆ ”

128 5. ความผิดต่อประชาชน 5.1 ต้องต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม และให้การสงเคราะห์แก่ประชาชนผู้ติดต่อราชการเกี่ยวกับ หน้าที่ของตน มาตรา 82(8)

129 5.2 ต้องไม่ดูหมิ่น เหยียดหยามกดขี่ หรือข่มเหง
5.2 ต้องไม่ดูหมิ่น เหยียดหยามกดขี่ หรือข่มเหง ประชาชนผู้ติดต่อราชการ มาตรา 83(9) 5.3 การดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือ ทำร้ายประชาชน ผู้ติดต่อราชการอย่างร้ายแรง มาตรา 85(5) (ผิดร้ายแรง)  ดูหมิ่น, กดขี่, ข่มเหง  ทำร้าย เช่น 1. พยาบาลตบกับญาติผู้ป่วย, ญาติผู้ป่วยขอกระบอกฉี่ 2. หมออนามัย พูดกับผู้ป่วยว่า “เอาโลงศพสักโลงไหม” 3. ผู้ป่วยพูดกับแพทย์ว่า“ตรวจแบบปฐมภูมิตรวจแค่นี้เองหรือ” เฉพาะประชาชนผู้ ติดต่อราชการ 129

130 6. วินัยต่อตนเอง 6.1 ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ
6.1 ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนั้น ในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท มาตรา 83(6)  ตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกัน เช่น ตำแหน่งผู้อำนวยการ  จุดมุ่งหมาย - ผลประโยชน์ - เวลาทำงาน เช่น... เป็นผู้จัดการบริษัทยา, บริษัทขายเครื่องมือแพทย์ /

131 หรือ คุกคามทางเพศ ตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. มาตรา 83(8)
6.2 ต้องไม่กระทำการอันเป็นการ ล่วงละเมิด หรือ คุกคามทางเพศ ตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. มาตรา 83(8)  ล่วงละเมิดทางเพศ...ล่วงเกิน, ฝ่าฝืนจารีต ประเพณี, ฝ่าฝืนกฎหมาย เช่น กระทำอนาจาร  คุกคามทางเพศ...ทำให้หวาดกลัว, แสดงอำนาจด้วยกิริยา หรือวาจา ให้หวาดกลัว **ข้อสังเกต เป็นวินัยไม่ร้ายแรง

132 กฎ ก.พ. ว่าด้วยการกระทำการอันเป็นการล่วงละเมิด หรือ
คุกคามทางเพศ พ.ศ บังคับใช้ 29 กันยายน 2553 เป็นการกระทำต่อข้าราชการ หรือผู้ร่วมปฏิบัติราชการ จะเกิดขึ้น ในหรือนอกสถานที่ราชการก็ได้ โดยผู้ถูกกระทำมิได้ยินยอม หรือทำ ให้ผู้ถูกกระทำเดือนร้อนรำคาญ 1. กระทำด้วยการสัมผัสทางกายที่มีลักษณะส่อไปในทางเพศ เช่น การจูบ การโอบกอด การจับอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง 2. กระทำด้วยวาจาที่ส่อไปในทางเพศ เช่น วิพากษ์วิจารณ์ ร่างกาย พูดหยอกล้อ พูดหยาบคาย 3. กระทำด้วยอากัปกิริยาที่ส่อไปในทางเพศ เช่น ใช้สายตา ลวนลาม การทำสัญญาณ หรือสัญลักษณ์ใดๆ 132

133  องค์ประกอบความผิด. ตัวอย่าง
6.3 กระทำความผิดอาญาจนได้รับโทษจำคุก หรือ โทษที่หนักกว่าโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก หรือ ให้รับโทษที่หนักกว่าโทษจำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับ ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท มาตรา 85(6)(ร้ายแรง)  องค์ประกอบความผิด. 1. กระทำความผิดทางอาญา 2. รับโทษจำคุกจริงๆ หรือประหารชีวิต 3. คำพิพากษาถึงที่สุด “ยกเว้น โทษที่กระทำผิดโดยประมาท” ตัวอย่าง 1. ฆ่าผู้อื่น 2. ค้ายาเสพติด 3. ทุจริตเงินราชการ

134 คดีอาญาโรงพยาบาลเอกชน
จำเลยที่ 1 แพทย์เจ้าของไข้...ถูกจำคุก 4 ปี จำเลยที่ 2 แพทย์ผู้รักษา......ถูกจำคุก 4 ปี จำเลยที่ 3 พยาบาลเวร ถูกจำคุก 1 ปี จำเลยที่ 1. ตรวจผู้ป่วยเห็นว่ามีอาการปวดศีรษะ ให้พักที่ ร.พ. สั่งฉีดยา Pethidin 3 ครั้งๆ ละ 50 มิลลิกรัม ทุก 4 ช.ม. ผู้ป่วยมีอาการช็อก ชักกระตุก ตาค้าง มีการ แจ้งให้จำเลยที่ 1 แล้ว แต่ไม่มาดูอากรผู้ป่วย จำเลยที่ 2 เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่มา จึงแจ้งจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 ไม่ มาดูผู้ป่วย แต่ได้ดูเวชระเบียน แล้งสั่งให้ยาทรามอลและ ให้ฉีดแวเลี่ยม จำเลยที่ 3 เวลาตีสอง จำเลยมาดูเห็นผู้ป่วยนอนปกติ และได้วัด สัญญาณชีพ แต่เวชระเบียนระบุว่าผู้ป่วยดิ้น กระสับกระส่าย..

135 ศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน มิให้เสื่อมเสีย มาตรา 82(10)
6.4 ต้องรักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติ ศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน มิให้เสื่อมเสีย มาตรา 82(10) 6.5 กระทำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรง มาตรา 85(4)(ผิดร้ายแรง)

136  มีหลักในการพิจารณา 3 ประการ 1. เกียรติของข้าราชการ
 การกระทำที่เรียกว่า “ประพฤติเสื่อมเสีย” หรือ “ประพฤติชั่ว”  มีหลักในการพิจารณา 3 ประการ 1. เกียรติของข้าราชการ 2. ความรู้สึกของสังคมไทย 3. เจตนาที่กระทำ  คำว่า “เกียรติ” คือ ความยกย่องนับถือ, การมีชื่อเสียง, การมีหน้ามีตา.

137 ตัวอย่างในเรื่องการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง
1. เสพหรือเมาสุรา มติ ครม. ที่ น.ว.208/2496, 3 ก.ย. 2496  เสพหรือเมาสุรา ในกรณีต่อนี้... 1.1 เสพสุราในขณะปฏิบัติราชการ 1.2 เมาสุราเสียราชการ 1.3 เมาสุราในที่ชุมนุมชนจนเกิดเรื่องเสียหาย หรือ เสียเกียรติศักดิ์แห่งตำแหน่งหน้าที่ราชการ ผิดร้ายแรง

138 2. การเล่นการพนัน(ประเภท ก,ข)
มติ ครม. ที่ น.ว.208/2496, 3 ก.ย. 2496  วางแนวการพิจารณาความผิดและการลงโทษ 1. การพนันประเภทที่กฎหมายห้ามขาด(ก)  ข้าราชการผู้ใดเล่น... 2. การพนันประเภทที่ขออนุญาตทางการเล่นได้(ข)  กรณีผู้เล่นมีหน้าที่ปราบปรามโดยตรง, ครู, เจ้าหน้าที่ทางวัฒนธรรม..ฯลฯ... ผิดร้ายแรง ผิดร้ายแรง

139 3. เบิกค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าบ้าน เป็นเท็จ
4. มีความสัมพันธ์ฉันชู้สาว 5. รับรองเอกสารราชการเป็นเท็จ 6. ปลอมเอกสารราชการ 7. ข้าราชการที่ปลอมลายมือชื่อของผู้อื่นไปหาประโยชน์ ผิดวินัยร้ายแรง(มติ ครม.ที่ นร. 0505/ว 197 ปี 2548) 8. เรียก-รับเงิน แลกกับการเข้าทำงาน, เข้าเรียน มีทั้งร้ายแรง และไม่ร้ายแรง

140 วิทยากรผู้บรรยาย นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์
อดีต ผู้อำนวยการ(นิติกรเชี่ยวชาญ ด้านวินัย) กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โทร ruengrat gmail. com สวัสดี...


ดาวน์โหลด ppt ณ ห้องประชุมแสงสิงแก้ว ชั้น 4

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google