Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง) ทุกหน่วยงาน (ทั้งที่เป็นสำนัก/กองที่มีโครงสร้างรองรับตามกฎหมาย และสำนัก/กองที่จัดตั้ง เพื่อรองรับการบริหารจัดการภายในส่วนราชการเอง) และระดับบุคคล (อย่างน้อย 1 หน่วยงาน) อย่างเป็นระบบ หน้า 106/ 158
SP 5 ส่วนราชการ - มีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) ระดับองค์การ ซึ่งแสดงความเชื่อมโยง สอดคล้องของวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ขององค์การในด้านต่างๆ อย่างครบถ้วน - มีกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการครบทุกระดับ ดังต่อไปนี้ 1. ระดับหน่วยงาน (ทุกสำนัก/กอง ทั้งสำนัก/กองที่มีโครงสร้างรองรับตามกฎหมาย และสำนัก/กองที่จัดตั้ง เพื่อรองรับการบริหารจัดการภายในส่วนราชการเอง) 2. ระดับบุคคล (อย่างน้อย 1 หน่วยงาน) - มีแผนปฏิบัติการประจำปี หรือปฏิทินกิจกรรม (Gantt Chart) ในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงกระบวนการ/ขั้นตอนในการดำเนินการตามระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายจากระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล - มีแนวทางการประเมินผลสำเร็จตามตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ชัดเจน - มีแนวทาง/วิธีการติดตาม และ รายงานผลการดำเนินงานที่มีความถี่เหมาะสม - มีการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการประจำปี หรือ ปฏิทินกิจกรรม (Gantt Chart) ในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย - มีการสื่อสารให้บุคลากรในส่วนราชการรับทราบถึงกรอบการประเมินผล และแผนปฏิบัติการประจำปีหรือปฏิทินกิจกรรม(Gantt Chart) ในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายอย่างทั่วถึง - มีข้อตกลงฯ ที่เป็นลายลักษณ์อักษร และสามารถใช้ประเมินผลได้อย่างเป็นรูปธรรมทั้งในระดับหน่วยงานและในระดับบุคคล - มีการติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติราชการและมีการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและเป้าหมายในแต่ละระดับที่มีความถี่เหมาะสมและกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมในการดำเนินการเหมาะสม - มีการสรุปประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี (ผลคะแนน) ครบทุกระดับ - มีสรุปบทเรียนจากการติดตามความก้าวหน้าและการรายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปี - มีข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการปฏิบัติงานในอนาคต - มีการเชื่อมโยงระหว่างผลการประเมินการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการปฏิบัติงานกับระบบแรงจูงใจ A D L I
การวางแผน การวัดผลสัมฤทธิ์ Corporate Scorecard Sub-unit Scorecard/ ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล การวางแผน การวัดผลสัมฤทธิ์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) Corporate Scorecard Strategic Business Unit Scorecard (SBU) กระทรวง/ กรม กลุ่มจังหวัด /จังหวัด แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) กระทรวง/กรม กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด Sub-unit Scorecard/ สำนัก/กอง แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) กระทรวง กรม กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Team & Individual Scorecard ทีมงานและบุคคล การงบประมาณ
ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) เป้าประสงค์ ค่า เป้าหมาย แผนงาน/ โครงการ Run the Business ตัวชี้วัด งบประมาณ ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล
แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคลของส่วนราชการ ระดับกระทรวง ระดับกลุ่มภารกิจ ระดับกรม ระดับกรม ระดับสำนัก / กอง ระดับสำนัก/กอง ระดับบุคคล
STRATEGY MAP (แผนที่ยุทธศาสตร์) หมายถึงแผนภาพแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าประสงค์ ในแต่ละมิติที่มีความเชื่อมโยงกันในลักษณะของเหตุและผล STRATEGY MAP ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์
ประโยชน์ของการจัดทำ STRATEGY MAP สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและถ่ายทอดกลยุทธ์ขององค์กร ไปสู่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น ทำให้ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าองค์กรต้องการจะบรรลุความสำเร็จอะไร และมีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญๆ ที่ต้องทำอะไร จะมีการประเมินผลในสิ่งที่มีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กรอย่างไร มีเป้าหมายการดำเนินงานเพียงใด ทำให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานทราบบทบาทและมีความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้
Strategy Map กรมคุมประพฤติ ตัวอย่าง Strategy Map กรมคุมประพฤติ วิสัยทัศน์ “เป็นเลิศในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชน เพื่อคืนคนดีสู่สังคม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 รวมพลังแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ได้ผลอย่างยั่งยืน เปลี่ยนภาระให้เป็นพลัง 1. คืนคนดีสู่สังคม ตามยุทธศาสตร์ ประสิทธิผล 2. ผู้ผ่านการฟื้นฟูในระบบบังคับรักษาสามารถเลิกยาเสพติดได้อย่างยั่งยืน 3. ผู้กระทำผิดในชุมชนสามารถกลับตนเป็นคนดีของสังคม 4. การเปลี่ยนแปลงพฤตินิสัยอย่างมีคุณภาพ 5. ประชาชนในพื้นที่ต่างๆ สามารถได้รับบริการของกระทรวงยุติธรรมอย่างสะดวก รวดเร็ว จากเครือข่ายยุติธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้บริการ คุณภาพ ยุติธรรมถ้วนหน้า ประชามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 6. พัฒนากระบวนการในการทำงานอย่างต่อเนื่อง 7. การส่งเสริมให้หน่วยงานปฏิบัติตามมาตรฐานสากล 8. การให้ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วม ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ พัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อประชาชนเข้าถึงได้อย่างเสมอภาคเกิดความเชื่อมั่น เป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 รุกป้องกัน เร่งปราบปรามอาชญากรรมและการทุจริตคอร์รัปชัน 9. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงานที่เหมาะสม 10. การมีระบบการบริหารจัดการตาม พ.ร.ฎ. GG การพัฒนา องค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างระบบ GG
ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล แนวทางในการแปลงระบบ ประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล กระบวนการในการแปลงระบบ ประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร ระดับองค์กร ขั้นตอนที่ 1: การยืนยันระบบประเมินผลขององค์กร ระดับองค์กร บทบาท หน้าที่และภารกิจ ของสำนัก/กองที่สนับสนุน ต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ในระดับองค์กร เป้าประสงค์ในระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดในระดับสำนัก/กอง บทบาท หน้าที่และภารกิจ ในงานประจำของสำนัก/กอง ระดับสำนัก/กอง ขั้นตอนที่ 2 : การแปลงระบบประเมินผล จากระดับองค์การลงสู่ระดับสำนัก/กอง 2.1 ยืนยัน บทบาทหน้าที่ ของสำนัก/กอง 2.2 กำหนด เป้าประสงค์ที่ สำนัก/กองมีส่วน ผลักดันเป้าประสงค์ ขององค์กร 2.3 กำหนด เป้าประสงค์เพิ่มเติม ตามหน้าที่งาน ที่ยังไม่ได้มี การประเมิน 2.4 กำหนด ตัวชี้วัดในแต่ละ เป้าประสงค์ ระดับ สำนัก/กอง ขั้นตอนที่ 3 : การแปลงระบบประเมินผล จากระดับสำนัก/กองลงสู่ระดับบุคคล 3.1 ยืนยัน หน้าที่งาน ของบุคคล 3.3 กำหนด เป้าประสงค์เพิ่มเติม ตามหน้าที่งาน ที่ยังไม่ได้มี การประเมิน 3.4 กำหนด เป้าประสงค์เพิ่มเติม ตามงานที่ได้รับ มอบหมายพิเศษที่ยัง ไม่ได้มีการประเมิน 3.5 กำหนด ตัวชี้วัดในแต่ละ เป้าประสงค์ 3.2 กำหนด เป้าประสงค์ที่ บุคคลมีส่วน ผลักดันเป้าประสงค์ ของผู้บังคับบัญชา บทบาท หน้าที่ของ บุคคล ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) ระดับบุคคล ระดับบุคคล
การวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และผลงานหลัก แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และผลงานหลัก เริ่มจากการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานหรือบุคคล โดยสามารถดูได้จาก Job description Mission Role and responsibility จากนั้นจึงกำหนดผลงานหลักของหน่วยงานหรือบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร จัดทำตัวชี้วัดเพื่อวัดผลงานหลักของหน่วยงานหรือบุคคลนั้นๆ
เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์เพื่อกำหนดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง OS Matrix Role Result Matrix สนับสนุนการเบิกจ่ายงบประมาณ สลธ. ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน (รายกรมและกระทรวง) โดยรับผิดชอบในด้านรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้องาน (function expert) โครงสร้าง กำหนดมาตรการ หลักเกณฑ์ และแนวทางในการลดขั้นตอน ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน โดยรับผิดชอบในด้านหลักเกณฑ์และแนวทาง ติดตามและประเมินผลสำเร็จในการลดขั้นตอนของหน่วยงาน สถาบัน GG เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้กับหน่วยราชการและประชาชน รับทราบ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลดขั้นตอน เผยแพร่ ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการลดขั้นตอนในภาพรวมจากหน่วยงาน โดยประเมินจากประชาชนและผู้รับบริการหลังจากที่ได้นำแนวทางในการลดขั้นตอนไปปฏิบัติ ติดตาม ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน โดยการสนับสนุน Area Officer (รายจังหวัด) ภูมิภาค วิจัยและพัฒนา กพร.น้อย ให้คำปรึกษาและประสานการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่เป็นอุปสรรคตามข้อเสนอของส่วนราชการ (เฉพาะในบางหน่วยงานเท่านั้น) กฎหมาย ผลลัพธ์: หน่วยราชการสามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาลงได้ โดยเฉลี่ยร้อยละ30 ขึ้นไป หน่วยงาน ร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลง Result Chart ประชาชนได้ใช้บริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผลลัพธ์ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ จัดทำระบบให้บริการผ่านระบบ call center และ web-site ให้ข้อมูลในส่วนที่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงาน จัดหาและกำกับดูแลการติดตั้งInfrastructure และ Application สลธ. ทุกหน่วยงาน เผยแพร่
OS Matrix ตัวอย่าง ประเด็นที่จะวัด ตัวชี้วัด xxx Xxx O S Owner Supporter ประเด็นที่จะวัด ตัวชี้วัด หน่วยงาน ก. หน่วยงาน ข. หน่วยงาน ค. หน่วยงาน ง. xxx Xxx O S
กลุ่มงานประสานการฟื้นฟูฯ กลุ่มงานส่งเสริมการฟื้นฟูฯ ตัวอย่าง ตาราง OS เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ฝ่ายบริหาร งานทั่วไป กลุ่มงานพัฒนาระบบ การฟื้นฟูฯ กลุ่มงานประสานการฟื้นฟูฯ กลุ่มงานส่งเสริมการฟื้นฟูฯ พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับพรบ. ฟื้นฟูฯ คป5.1-1. ร้อยละความสำเร็จในการจัดการอบรมเทียบกับแผน S O พัฒนาระบบ รูปแบบ วิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตาม พรบ.ฟื้นฟู คป5.1-2. จำนวนระบบ รูปแบบที่ได้มีการพัฒนา/ปรับปรุง ทำหน้าที่ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คป5.1-3. จำนวนครั้งในการจัดประชุมคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ส่งเสริม สนับสนุน และประสานกับพหุภาคีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการตาม พรบ. ฟื้นฟู คป5.1-4. ร้อยละความพึงพอใจของทุกภาคส่วน คป5.1-5. ร้อยละของปัญหาหรือเรื่องที่ได้รับการประสานแก้ไขจนสำเร็จลุล่วง คป5.1-6. ร้อยละของจำนวนศูนย์ฟื้นฟูที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน การพัฒนาบุคลากรของกองพัฒนาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คป5.1-7. จำนวนครั้งที่ได้รับการพัฒนาต่อคนต่อปี (ภายในกองฯ)
สถาบัน GG (เป็นหน่วยงานเจ้าภาพ) ตัวอย่าง ร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลง หน่วยงาน ผลลัพธ์: หน่วยราชการสามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาลงได้ โดยเฉลี่ยร้อยละ30 ขึ้นไป สถาบัน GG (เป็นหน่วยงานเจ้าภาพ) ศึกษาแนวทางและกำหนดหลักเกณฑ์ / จัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินการ / บรรยายให้ความรู้ ความเข้าใจ / ให้คำปรึกษาต่อหน่วยงาน / รวบรวม วิเคราะห์ข้อเสนอเพื่อนำต่อ อ.ก.พ.ร./ ก.พ.ร. และ ครม. โครงสร้าง บรรยายให้ความรู้และความเข้าใจ / ให้คำปรึกษาต่อหน่วยงาน / ติดตาม เร่งรัดการดำเนินงานของหน่วยงาน / วิเคราะห์ข้อเสนอ (รายกรมและกระทรวง) ภูมิภาค บรรยายให้ความรู้และความเข้าใจ / ให้คำปรึกษาต่อหน่วยงาน / ติดตาม เร่งรัดการดำเนินงานของหน่วยงาน / วิเคราะห์ข้อเสนอ (รายจังหวัด) ติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการลดขั้นตอนในภาพรวมจากหน่วยงาน โดยประเมินจากประชาชนและผู้รับบริการหลังจากที่ได้นำแนวทางในการลดขั้นตอนไปปฏิบัติ เผยแพร่ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้กับหน่วยราชการและประชาชน รับทราบ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลดขั้นตอน กฎหมาย ให้คำปรึกษาและประสานการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่เป็นอุปสรรคตามข้อเสนอของส่วนราชการ (เฉพาะในบางหน่วยงานเท่านั้น) วิจัยและพัฒนา สลธ. บริหารจัดการทรัพยากรที่เหมาะสม
ผลลัพธ์ : ประชาชนรับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ ตัวอย่าง KPI ร้อยละของประชาชนที่รับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ ผลลัพธ์ : ประชาชนรับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ เผยแพร่ สร้างความรู้ความเข้าใจการพัฒนาระบบราชการกับประชาชน (ทุกกลุ่มภารกิจให้ข้อมูลในส่วนของเนื้อหาแก่เผยแพร่) (การเผยแพร่ข้อมูลเฉพาะเรื่อง ภารกิจนั้นๆจะเป็นผู้รับผิดชอบ) จัดทำแบบสอบถาม (ทุกกลุ่มภารกิจให้ข้อมูลในส่วนของเนื้อหา) สำรวจ การรับรู้ของประชาชน (pre survey) สำรวจ การรับรู้ของประชาชน M&E เผยแพร่ร่วมกับ ทุกกลุ่มภารกิจ เผยแพร่ร่วมกับ ทุกกลุ่มภารกิจ เผยแพร่
ตัวอย่าง 1. Strategy Map สำนักงานเลขานุการกรม 1-1.เพิ่มความพึงพอใจผู้รับบริการ การให้บริการ คุณภาพ 1-2.การปฏิบัติงานที่รวดเร็ว ทันเวลา และถูกต้อง 1-3.การพัฒนาระบบ ในการทำงาน 1-4.การดำเนินงานตามแผน ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ 1-6.ส่งเสริมให้บุคลากรของกรมมีระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม 1-5.พัฒนาบุคลากรของกรมฯ 1-7. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงานที่เหมาะสม การพัฒนา องค์กร
ตัวอย่าง 1. สำนักงานเลขานุการกรม ตัวอย่าง 1. สำนักงานเลขานุการกรม เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 1-1.เพิ่มความพึงพอใจผู้รับบริการ คป1-1. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1-2.การปฏิบัติงานที่รวดเร็ว ทันเวลา และถูกต้อง คป1-2. ร้อยละของการให้บริการเกินเวลามาตรฐาน 1-3.การพัฒนาระบบในการทำงาน คป1-3. ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผน 1-4.การดำเนินงานตามแผน คป1-4. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบในการทำงาน 1-5.พัฒนาบุคลากรของกรมฯ คป1-5. ร้อยละของบุคลากรของกรมฯที่ได้รับการพัฒนา 1-6.ส่งเสริมให้บุคลากรของกรมมีระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม คป1-6. ร้อยละของผู้กระทำผิดวินัยเทียบกับจำนวนบุคลากรทั้งหมดของกรม 1-7. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงานที่เหมาะสม คป1-7.จำนวนกิจกรรมที่มีการจัดเพื่อพัฒนากระบวนทัศน์ในการทำงาน
ในตัวชี้วัดทุกตัว และทุกระดับ จะต้องมีการจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด (KPI Template) กระบวนการจัดเก็บข้อมูล ผู้จัดเก็บข้อมูล น้ำหนัก ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ข้อมูลปีฐาน (ปีงบประมาณ 49) เป้าหมาย (ปีงบประมาณ 50) ผู้ตั้งเป้าหมาย ความถี่ในการเก็บข้อมูลและรายงาน หน่วยที่วัด สูตรในการคำนวณ วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด ความหมายของตัวชี้วัด
ในตัวชี้วัดทุกตัว และทุกระดับ จะมีการจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด (KPI Template) ตัวอย่าง เช่น ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายที่เห็นว่า สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ ภารกิจการติดตามและประเมินผลจ้างหน่วยงานภายนอกสำรวจ กระบวนการจัดเก็บข้อมูล คุณวิลาวัลย์ ผู้จัดเก็บข้อมูล - น้ำหนัก ผู้อำนวยการภารกิจการพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคฯ ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ข้อมูลปีฐาน ร้อยละ... เป้าหมาย (ปีงบประมาณ 47) เลขาธิการ ก.พ.ร. ผู้ตั้งเป้าหมาย ทุก 1 ปี ความถี่ในการเก็บข้อมูลและรายงาน ร้อยละ หน่วยที่วัด (จำนวนผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายที่เห็นว่าสำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการในด้านการทำงานแบบ Matrix / จำนวนผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ตอบแบบสำรวจ) x 100 สูตรในการคำนวณ สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด ความหมายของตัวชี้วัด - ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง จังหวัดและกลุ่มพัฒนาระบบบริหารในจังหวัด - องค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ หมายถึงการทำงานแบบ Matrix ของ area officer
ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ ตัวอย่าง ตารางการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ ความหมายของตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด ความสำเร็จในการถ่ายทอดองค์ความรู้และทักษะใหม่ๆในการปฏิบัติงานให้กับข้าราชการ ความถี่ในการเก็บข้อมูลและรายงาน ทุก 3 เดือน กระบวนการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงาน ก เก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยงาน ผู้จัดเก็บข้อมูล คุณ……. ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด การจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ เป็นการอบรมให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน บุคลากรภายในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว เดือน ลำดับ เรื่องที่จัดฝึกอบรม หมายเหตุ ต.ค. – ธ.ค. 47 ม.ค. – มี.ค. 48 เม.ย. – มิ.ย. 48 ก.ค. – ก.ย. 48 รวม
ขั้นตอนในการแปลงระบบประเมินผล จากระดับสำนัก/กองลงสู่ระดับบุคคล 1. ยืนยัน หน้าที่งาน ของบุคคล 3. กำหนด เป้าประสงค์เพิ่มเติม ตามหน้าที่งาน ที่ยังไม่ได้มี การประเมิน 4. กำหนด เป้าประสงค์เพิ่มเติม ตามงานที่ได้รับ มอบหมายพิเศษที่ยัง ไม่ได้มีการประเมิน 5. กำหนด ตัวชี้วัดในแต่ละ เป้าประสงค์ 2. กำหนด เป้าประสงค์ที่ บุคคลมีส่วน ผลักดันเป้าประสงค์ ของผู้บังคับบัญชา
แนวทางในการกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล บทบาท หน้าที่ของ บุคคล ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description)
ผลสำเร็จของงาน / ผลสัมฤทธิ์ของงาน การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Families สายงานของสำนักงานฯ จำนวนบุคลากร จำนวนสายงาน รวม ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Description เลขที่ตำแหน่ง: ชื่อตำแหน่งทางบริหาร: ชื่อตำแหน่งในสายงาน: ภารกิจ / สถาบัน / สำนัก: กลุ่ม: ระดับ: ผู้บังคับบัญชา: ความรับผิดชอบหลัก กิจกรรมหลัก ผลสำเร็จของงาน / ผลสัมฤทธิ์ของงาน ตำแหน่งและระดับ จำนวนคน ขอบเขตงานโดยย่อ
ตัวชี้วัดระดับบุคคล เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 1. 2.
ในตัวชี้วัดทุกตัว และทุกระดับ จะต้องมีการจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด (KPI Template) กระบวนการจัดเก็บข้อมูล ผู้จัดเก็บข้อมูล น้ำหนัก ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ข้อมูลปีฐาน (ปีงบประมาณ 49) เป้าหมาย (ปีงบประมาณ 50) ผู้ตั้งเป้าหมาย ความถี่ในการเก็บข้อมูลและรายงาน หน่วยที่วัด สูตรในการคำนวณ วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด ความหมายของตัวชี้วัด
ในตัวชี้วัดทุกตัว และทุกระดับ จะมีการจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด (KPI Template) ตัวอย่าง เช่น ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายที่เห็นว่า สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ ภารกิจการติดตามและประเมินผลจ้างหน่วยงานภายนอกสำรวจ กระบวนการจัดเก็บข้อมูล คุณวิลาวัลย์ ผู้จัดเก็บข้อมูล - น้ำหนัก ผู้อำนวยการภารกิจการพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคฯ ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ข้อมูลปีฐาน ร้อยละ... เป้าหมาย (ปีงบประมาณ 47) เลขาธิการ ก.พ.ร. ผู้ตั้งเป้าหมาย ทุก 1 ปี ความถี่ในการเก็บข้อมูลและรายงาน ร้อยละ หน่วยที่วัด (จำนวนผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายที่เห็นว่าสำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการในด้านการทำงานแบบ Matrix / จำนวนผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ตอบแบบสำรวจ) x 100 สูตรในการคำนวณ สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด ความหมายของตัวชี้วัด - ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง จังหวัดและกลุ่มพัฒนาระบบบริหารในจังหวัด - องค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ หมายถึงการทำงานแบบ Matrix ของ area officer
ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ ตัวอย่าง ตารางการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ ความหมายของตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด ความสำเร็จในการถ่ายทอดองค์ความรู้และทักษะใหม่ๆในการปฏิบัติงานให้กับข้าราชการ ความถี่ในการเก็บข้อมูลและรายงาน ทุก 3 เดือน กระบวนการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงาน ก เก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยงาน ผู้จัดเก็บข้อมูล คุณ……. ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด การจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ เป็นการอบรมให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน บุคลากรภายในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว เดือน ลำดับ เรื่องที่จัดฝึกอบรม หมายเหตุ ต.ค. – ธ.ค. 47 ม.ค. – มี.ค. 48 เม.ย. – มิ.ย. 48 ก.ค. – ก.ย. 48 รวม
การกำหนดค่าเป้าหมาย เป้าหมาย (Target) [แสดงถึงผลการดำเนินงานที่คาดหวังไว้] ปัจจัยผลักดันจากภายใน (Internal driven) ปัจจัยผลักดันจากภายนอก (External driven) สมรรถนะ (Capability) ความคาดหวัง (Expectation) การแข่งขัน (Competition) มาตรฐาน (Standard) วิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด(Best-practice)
ตัวชี้วัดระบบฐานข้อมูล การกำหนดค่าเป้าหมาย การกำหนดเป้าหมายตามขั้นตอนที่สำเร็จ (Milestones) ระดับที่ 5 นำไปใช้ประโยชน์ ในการบริหารงาน ตัวชี้วัดระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 4 มีการเชื่อมโยง ระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 3 มีระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 2 ดำเนินการจัดทำ แต่ยังไม่แล้วเสร็จ ระดับที่ 1 ตั้งคณะทำงาน
การกำหนดค่าเป้าหมาย การกำหนดเป้าหมายแบบผสมระหว่างขั้นตอนที่สำเร็จ(Milestones) และการประเมินผลลัพธ์ ระดับที่ 5 ประหยัดน้ำมันได้มากกว่า ร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 15 ระดับที่ 4 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ของการดำเนินการตาม มาตรการประหยัดพลังงาน ประหยัดน้ำมันได้มากกว่าร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 10 ระดับที่ 3 ประหยัดน้ำมัน ได้ตั้งแต่ร้อยละ 0 ถึงร้อยละ 5 ระดับที่ 2 ทบทวนมาตรการ การประหยัดพลังงาน และดำเนินงานแล้ว เสร็จครบถ้วน ระดับที่ 1 มีฐานข้อมูล พลังงาน
www.opdc.go.th