การประชุมเชิงปฏิบัติการนำเกณฑ์ PMQA รายหมวดลงสู่การปฏิบัติงานจริง (Implement) วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุมเอนกประสงค์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น เวลา กิจกรรม ผู้ดำเนินการ ๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ น. เปิดประชุม/ชี้แจงวัตถุประสงค์ Over view PMQA ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ นางจิระประภา ศิริสูงเนิน นางศิริมา นามประเสริฐ ๐๙.๓๐-๑๑.๓๐ น. บรรยายและทำความเข้าใจเกณฑ์ร่วมกัน นางพรทิพย์ ศรีรุ่งเรือง ๑๑.๓๐-๑๒.๐๐ น. Over view :ระบบงาน Long Term Care การดูแลผู้สูงอายุ นางจันทนา ศรีจารนัยและคณะ ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. แบ่งกลุ่ม Workshop เพื่อฝึกประเมินตนเองเทียบกับเกณฑ์ Self-Assessment ตามโปรแกรม Self-Assessment Questionnaire ในหมวด ๑ – ๖ พร้อมวิเคราะห์โอกาส ในการปรับปรุง (Opportunity of Improvement) และจัดทำแผนปรับปรุงหน่วยงาน ทีม KK IQA ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ น. นำเสนอผลการ Workshop อภิปราย สรุป และปิดประชุม
PLAN สสจ.ขอนแก่น ดำเนินการต่อเนื่องใน ๒ กิจกรรม เป้าหมาย สป. มุ่งสู่ความสำเร็จด้วย PMQA เพื่อขอรับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติในหมวด ๔ และ หมวด ๖ ให้ได้ภายในปี ๒๕๖๐ เชิญสสจ. ๒๔ แห่งเข้าร่วมโครงการฯ โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ของหน่วยงานส่วนภูมิภาค ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ดำเนินการ ๓ ระยะ ครั้งที่ ๑ (๘-๑๐ กพ.) -ทำความเข้าใจเกณฑ์เทียบกับเกณฑ์รางวัลร่วมกัน/ทำคู่ขนานระหว่างกรมสป.กับสสจ. รางวัลเป็นเพียงผลพลอยได้ / Learning by doing เพื่อให้เกิดการตกผลึก ต่อเนื่องและยั่งยืน / สร้าง IS ผู้ตรวจประเมินภายใน / สสจ.ทำแผน เพื่อ Implement /Benchmark เพื่อหา Best Practice/*ถ้าทำ PMQA ได้ดี ระบบงานทุกอย่างก็จะดีตามและมีความต่อเนื่อง การบ้าน แต่ละจังหวัดดำเนินการประเมินตนเอง(Self- Assessment) วิเคราะห์องค์กร/จัดทำแผนปรับปรุงและคัดเลือกตัวชี้วัดหมวดผลลัพธ์มาดำเนินการ PLAN สสจ.ขอนแก่น ดำเนินการต่อเนื่องใน ๒ กิจกรรม ๑.จัดประชุมตัวแทนทีมนำระดับจังหวัด (ครู ก.) เพื่อวางแผนปรึกษาหารือในการเตรียมความพร้อมการถ่ายทอดเกณฑ์สู่การปฏิบัติ ในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุม ๒ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ๒.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการนำเกณฑ์ PMQA รายหมวดลงสู่การปฏิบัติงานจริง (Implement) ในวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุมเอนกประสงค์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น ครั้งที่ ๒ (พค.) ประชุมติดตามความก้าวหน้าส่งเอกสารการประเมินตนเอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อค้นหา Best Practice ครั้งที่ ๓ (สค.) รวบรวมผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการฯ วิทยากรตรวจประเมินรายงานผล สรุปผลการตรวจประเมิน ให้มีการมอบรางวัลการตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ให้กับจังหวัดที่มีผลงาน Best Practice สิ่งที่ สสจ. ต้องดำเนินการต่อเนื่อง คือ แบบฟอร์ม ๑) ส่งเอกสารการสมัครรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์ม ๒) จัดทำลักษณะสำคัญขององค์การ แบบฟอร์ม ๓) จัดทำ Self-Assessment Questionnaire แบบฟอร์ม ๔) คัดเลือกตัวชี้วัดหมวด ๗ พร้อมประเมินผลย้อนหลัง ๓ ปี แบบฟอร์ม ๕) แบบวิเคราะห์รายหมวดเชิงคุณภาพ แบบฟอร์ม ๖) แผนพัฒนา PMQA
PMQA ขอนแก่น กลยุทธ์นำสู่การปฏิบัติ : Quick Win ปี 2560 1.วิสัยทัศน์ 1.กำหนดทิศทางที่ชัดเจนขององค์กร 2.พัฒนาทุกส่วนตามทิศทางขององค์กร(คน+ระบบงาน) 3.ติดตามประเมินผลและถอดบทเรียน 2.ค่านิยมหลัก “MOPH” 3.สร้างกลไกขับเคลื่อนให้เกิดความต่อเนื่อง -การตรวจประเมิน ใช้เครื่องมือ PMQA-FL V2.0 เน้น A D R I -ถอดบทเรียนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง 3.เข็มมุ่ง คือ ระบบบริการที่มีคุณภาพ 4.ยึดหลักการทำงานเป็นทีม ประชุม KK IQA /ST teams เพื่อวางแผน/ติดตามงาน 1.พัฒนาวิชาการ จัดอบรมหลักสูตรเพิ่มพูนความรู้ (7 กค.59) จัดทีมตรวจประเมิน KK IQA 5 โซน -โซน สสจ. -โซนอำเภอ 4 โซน 2.พัฒนาบุคลากร : สร้างทีม KK IQA จัดอบรมหลักสูตรผู้ตรวจประเมินภายในระดับจังหวัด (8 กค.59) ตรวจประเมินไขว้โซน โดยสุ่มโซนละ 1 หน่วยงาน = 5 ครั้ง จัดประชุมถอดบทเรียนเป็นระยะ และมอบรางวัล จัด Work shop พัฒนา OP /รายหมวด สสจ.+สสอ. เพื่อเชื่อมโยงระบบ
แผน PMQA ขอนแก่น ปี 2560 โครงการ PMQA กพร.สป. 2560 ดำเนินการ 3 ระยะ ครั้งที่ 1 (8-10 กพ.) -ทำความเข้าใจเกณฑ์เทียบกับเกณฑ์รางวัลร่วมกัน/ทำคู่ขนานระหว่างกรมสป.กับสสจ. รางวัลเป็นเพียงผลพลอยได้ / Learning by doing เพื่อให้เกิดการตกผลึก ต่อเนื่องและยั่งยืน / สร้าง IS ผู้ตรวจประเมินภายใน / สสจ.ทำแผน เพื่อ Implement /Benchmark เพื่อหา Best Practice/*ถ้าทำ PMQA ได้ดี ระบบงานทุกอย่างก็จะดีตามและมีความต่อเนื่อง การบ้าน แต่ละจังหวัดดำเนินการประเมินตนเอง(Self- Assessment) วิเคราะห์องค์กร/จัดทำแผนปรับปรุงและคัดเลือกตัวชี้วัดหมวดผลลัพธ์มาดำเนินการ จัดประชุมทีมงาน (IS/ST teams) และ Work shop พัฒนาต่อเนื่องเพื่อเชื่อมโยงระบบ (มค.-มีค.) ส่งการบ้านตามแบบฟอร์ม 1) ส่งเอกสารการสมัครรางวัลฯ 2) ลักษณะสำคัญขององค์การ 3) Self-Assessment Questionnaire 4) คัดเลือกตัวชี้วัดหมวด 7 พร้อมประเมินผลย้อนหลัง 3 ปี 5) แบบวิเคราะห์รายหมวดเชิงคุณภาพ 6) แผนพัฒนา PMQA การบ้าน สสจ.+สสอ.จัดทำประเมินตนเอง รวบรวมเอกสารเป็นภาพจังหวัด ส่ง สป. ครั้งที่ ๒ (พค.) ประชุมติดตามความก้าวหน้าส่งเอกสารการประเมินตนเอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อค้นหา Best Practice (พค.-มิย.) จัดทีมออกตรวจประเมิน KK IQA 5 โซน (สสจ.+โซนอำเภอ 4 โซน ค้นหา Best Practice ครั้งที่ ๓ (สค.) รวบรวมผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการฯ วิทยากรตรวจประเมินรายงานผล สรุปผลการตรวจประเมิน (กค.-สค.) จัดประชุมถอดบทเรียนเป็นระยะ รวบรวมเอกสารเป็นภาพจังหวัด ส่ง สป. ให้มีการมอบรางวัลการตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ให้กับจังหวัดที่มีผลงาน Best Practice มอบรางวัล ระดับจังหวัด
Khon Kaen PMQA Management System กำหนดกลยุทธ์และแผนพัฒนาระบบงาน ออกแบบระบบงาน PMQA หมวด 1 - 6 กำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการ PMQA หมวด 7 วิเคราะห์ ลักษณะสำคัญขององค์กร Strategy Plan Value Chain (Work System) KPI Key Organization Factor Customer (Outcome) Supplier Input Process Output วัดผลงานเทียบกับเป้าหมาย (7.3) วัดผลงานเทียบกับเป้าหมาย (7.4 / 7.5 / 7.6) วัดผลงานเทียบกับเป้าหมาย (7.2 / 7.5) วัดผลงานเทียบกับเป้าหมาย (7.1) เรียนรู้ > นวัตกรรม > จัดการความรู้ > ปรับทิศทางให้สอดคล้องกัน
เริ่มจาก หมวด 7 เป็นตัวตั้ง (เดินเรื่อง) work shop เริ่มจาก หมวด 7 เป็นตัวตั้ง (เดินเรื่อง) คัดเลือก KPI จาก 7.1-7.6 7.1 คัดเลือก KPI (เชื่อมระบบงานในรายหมวด) - Long term care (LTC) การดูแลผู้สูงอายุ 7.2 ผลลัพธ์ด้านการให้ความสำคัญของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร้อยละความพึงพอใจ จำนวนการคุ้มครองสิทธิกรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหาย(ม.41) 7.3 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร Happinomitor ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร ร้อยละการพัฒนาบุคลากรตามแผนการพัฒนาบุคลากร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการการนำองค์การและการกำกับดูแล ระดับความสำเร็จของการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ (ITA) - การบริการการแพทย์ฉุกเฉิน EMS 7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน การคลัง - ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณ 7.6 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ และการจัดการห่วงโซ่อุปทาน - IT เชื่อมไปหมวด P / 1 - 6 แบบฟอร์ม 1 - 6
การบ้าน ทุกกลุ่มงาน สสจ./ สสอ.ทุกอำเภอ จัดทำระบบงานที่สำคัญ/ระบบสนับสนุน (หมวด6) แล้วเลือกมาดำเนินการ 1 เรื่อง พร้อมระบุเหตุผลในการเลือก ดำเนินการตามเอกสาร แบบฟอร์มที่ 1 – 6 (ศึกษารายละเอียดจากเอกสารสรุปประชุม8-10กพ.60) 1) คัดเลือก KPI หมวด 7 ตามแบบฟอร์ม 4 และเอกสารผลลัพธ์การดำเนินการหมวด7 2) จัดทำลักษณะสำคัญ(OP) ตามแบบฟอร์ม 2 3) ประเมินตนเองรายหมวด (Self –Assessment Questionnaire) ตามแบบฟอร์ม 3 4) จัดทำแบบวิเคราะห์รายหมวดเชิงคุณภาพ ตามแบบฟอร์ม 5 5) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ PMQA ของหน่วยงาน ปี 2560 ส่งงาน ระบบงานที่สำคัญ/ระบบสนับสนุน พร้อมเอกสารแบบฟอร์มที่ 1 – 6 ภายใน วันที่ 15 มีนาคม 2560 ที่กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ สสจ. เพื่อรวบรวมส่งที่ปรึกษา ก.พ.ร. นำเสนอในเวที Workshop : Clinic PMQA เพื่อติดตามความก้าวหน้า/แก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติม/ ค้นหา Best Practice วันที 23 – 24 มีนาคม 2560