ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การพัฒนา งานวิจัย สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ณ 31 พฤษภาคม
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
ติดตามผลการปฏิบัติงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โครงการส่งเสริมเกษตรกรรมทางเลือก งบประมาณปี 2562 กลุ่มจัดการฟาร์มและเกษตรกรรมยั่งยืน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 22 ตุลาคม 2561 ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

กรอบการนำเสนอ ที่มาของโครงการฯ วัตถุประสงค์ เป้าหมายการดำเนินงาน กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน กรอบงบประมาณ แผนปฏิบัติงาน แผนผังขั้นตอนการดำเนินงาน แบบขอสมัครเข้าร่วมโครงการฯ (อำเภอ) หนังสือมอบอำนาจ (อำเภอ) แบบรายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการฯ (จังหวัด) แบบรายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการฯ (เขต จังหวัด และอำเภอ) แบบสรุปรายชื่อเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯ (เขต จังหวัด และอำเภอ) รูปแบบการเขียนการถอดบทเรียนเกษตรกรต้นแบบโครงการฯ (เขต)

ที่มาของโครงการฯ ปัญหาผลผลิตข้าวเกินความต้องการของตลาด สภาพดินฟ้าอากาศ ภัยธรรมชาติ ราคาข้าวผันผวนไม่แน่นอน รายรับไม่แน่นอน ไม่พอกับภาระการกู้หนี้ยืมสินของเกษตรกร โครงการส่งเสริมเกษตรกรรมทางเลือก จึงเป็นอีกโครงการหนึ่งที่สนับสนุนให้เกษตรกรที่ปลูกข้าว ปรับเปลี่ยนการผลิตข้าวเพื่อเข่าสู่ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน หรือเกษตรกรรมทางเลือก บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยยึดแนวทางของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอก

นิยาม : เกษตรกรรมทางเลือก เกษตรกรรมทางเลือก หรือระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ระบบการผลิตทางการเกษตร ที่เหมาะสมกับภูมินิเวศของแต่ละพื้นที่ เหมาะกับสภาพทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในไร่นาที่แตกต่างกันออกไป ลดความเสี่ยงจากการผลิต และลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอกให้มากที่สุด

วัตถุประสงค์ เพื่อลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ เพื่อส่งเสริมเกษตรกรรมทางเลือกให้แพร่หลายสู่เกษตรกร ให้มีอาหาร ไว้บริโภคอย่างเพียงพอ และมีความยั่งยืนในการประกอบอาชีพ เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวเป็นเกษตรกรรมทางเลือกอื่น

พื้นที่ปลูกข้าว ทั่วประเทศ เป้าหมายดำเนินการ พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่ปลูกข้าว ทั่วประเทศ 1,540 ไร่ เกษตรกรเป้าหมาย 1,540 ราย 43 จังหวัด

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน กิจกรรม 1. การบริหารโครงการฯ 1.1 จัดทำคู่มือการดำเนินงานโครงการฯ 1.2 ชี้แจงการดำเนินงานโครงการฯ 1.3 พัฒนาระบบโปรแกรมบันทึกข้อมูลโครงการฯ 1.4 ถอดบทเรียนเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จที่เข้าร่วมโครงการฯ 1.5 จัดทำวีดิทัศน์เกษตรกรต้นแบบ 1.6 ติดตามผลการดำเนินงานโครงการฯ 1.7 รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ 2. การรับสมัครเกษตรกร 2.1 การประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2.2 การรับสมัครเกษตรกร 2.3 การบันทึกข้อมูล

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน กิจกรรม 3. การฝึกอบรมเกษตรกร 3.1 อบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อปรับแนวคิด เรื่อง เกษตรกรรมทางเลือก การจัดการฟาร์ม จัดทำแผนผังฟาร์ม การวางแผนการผลิต และปฏิทินการปลูกพืชรายบุคคล 3.2 อบรมและศึกษาดูงานให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ โดยเน้นการฝึกอบรมอาชีพระยะสั้นเช่น การเพาะเห็ด การปลูกผัก การเพาะชำกล้าไม้ และการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 4. การสนับสนุนปัจจัยการผลิต สนับสนุนปัจจัยการผลิตตามแผนการผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 1,540 ราย รายละ 1 ไร่

วิธีการดำเนินการ ส่วนกลาง จัดทำคู่มือ ชี้แจงแนวทาง จัดทำระบบโปรแกรม ร่วมถอดบทเรียน ติดตามผล รายงานผล

วิธีการดำเนินการ สสก.1-9 ถอดบทเรียน จัดทำวีดิทัศน์ ติดตามผล รายงานผล ส่งภายในวันที่ 31 ส.ค. 62 จัดทำวีดิทัศน์ รายงานผล ส่งภายในวันที่ 30 ก.ย. 62

จัดซื้อปัจจัยการผลิต เวที 2 เน้นอาชีพระยะสั้น วิธีการดำเนินการ เกษตรจังหวัด ฝึกอบรม เวที 1 เพื่อปรับแนวคิด จัดซื้อปัจจัยการผลิต ติดตามผล รายงานผล สนง. เวที 2 เน้นอาชีพระยะสั้น 1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 62 ส่งภายในวันที่ 15 ก.ย. 62 ศึกษาดูงาน

วิธีการดำเนินการ สนง. เกษตรอำเภอ ประชาสัมพันธ์ รับสมัครเกษตรกร บันทึกข้อมูล ส่งมอบปัจจัยการผลิต ติดตามผล รายงานผล ส่งภายในวันที่ 31 ส.ค. 62 เกษตรอำเภอ สนง.

เงื่อนไขเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ คุณสมบัติของเกษตรกร ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวไว้กับกรมส่งเสริมการเกษตร (ใช้ข้อมูลที่ปรับปรุงเป็นปัจจุบัน) มีเอกสารสิทธิ์ถือครองเป็นของตนเอง มีที่อยู่อาศัยหรือมีที่ทำการเกษตรอยู่ในอำเภอที่ตั้งของ ศพก. สามารถปรับลดพื้นที่นาบางส่วนเข้าร่วมโครงการได้แปลงละ 1 ไร่ 1 ราย การรับสมัคร ประชาสัมพันธ์การรับสมัครให้เกษตรกรทราบโดยทั่วถึง (คุณสมบัติ วัน เวลา และสถานที่รับสมัคร) รับสมัครตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด ตรวจสอบคุณสมบัติตามที่กำหนด บันทึกข้อมูลใบสมัครลงในแบบฟอร์มที่กำหนด

ผลผลิต (Out put) ผลลัพธ์ (Out come) ตัวชี้วัด - มีเกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตสู่การทำเกษตรกรรมทางเลือก 1,540 ราย - มีพื้นที่เกษตรกรรมทางเลือกเพิ่มขึ้น 1,540 ไร่ ผลลัพธ์ (Out come) - เกษตรกรสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ พื้นที่เกษตรกรรมทางเลือกเพิ่มขึ้น 1,540 ไร่ เชิงคุณภาพ 70% มีความรู้ มีแนวคิดปรับเปลี่ยน

กรอบงบประมาณ

ขั้นตอนการดำเนินงาน

แบบขอสมัครเข้าร่วมโครงการฯ

หนังสือมอบอำนาจ

แบบรายงานผลความก้าวหน้า

แบบรายงานสรุปผลการดำเนินงาน

แบบสรุปรายชื่อเกษตรกร

รูปแบบการเขียนการถอดบทเรียน