HDC CVD Risk.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
Advertisements

Management of diabetes
ระบบข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข
หัวข้อการจัดอบรม iOPPP Datacenter
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย
43 แฟ้ม HDC Datacenter ข้อมูลและรายงาน EPI.
Thai CV Risk score จิรพงษ์ แสงทอง
เขตบริการสุขภาพที่ ประกาศนโยบายของเขตสุขภาพ ด้านการให้รหัสโรค ( บันทึก Diag text ทุกครั้งที่ให้บริการ ) และแต่งตั้ง คณะทำงานฯเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม.
1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
Toward National Health Information System
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
การนำผลการปฏิบัติงานลงสู่แฟ้ม HDC (43 แฟ้ม)
17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
HDC งานแม่และเด็ก(MCH)
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
60 ข้อ 46 ข้อ การใช้รายงาน HDC การใช้รายงาน HDC.
การบันทึกข้อมูล Social Risk ใน HDC
HDC CVD Risk.
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ปรับแนวทาง ตามมติคณะทำงานฯ ณ 16 ก.พ. 61
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
สรุปผลการตรวจราชการฯ
มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ (43แฟ้ม) Version 2.3
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
HDC แผนแพทย์ไทย.
แนวทางการบันทึกข้อมูลชาวต่างด้าว จังหวัดระนอง ปี 2562
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
การจัดการคุณภาพข้อมูลบริการป่วยนอก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HDC CVD Risk

การประเมิน Thai CV Risk Score จากข้อมูล 43 แฟ้ม อายุ(ปี ใช้ Birth นับถึงวันที่ 1 ม.ค.ของปีงบประมาณ) PERSON เพศ(Sex ชาย=1 หญิง =0) การป่วยเป็นเบาหวาน CHRONIC Total cholesterol LABFU CHRONICFU ค่า SBP , ค่ารอบเอว (WAIST_CM) ส่วนสูง (ซม.) , การสูบบุหรี่ NCDSCREEN SPECIALPP

รหัสการสูบบุหรี่ที่ใช้ใน SPECIAL PP

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแฟ้ม Chronic

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแฟ้ม CHRONICFU

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแฟ้ม LABFU

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแฟ้ม LABFU

สูตรการคำนวณ CV Risk Score กรณีมีค่า total cholesterol ใช้สูตร Thai ASCVD score 2 FullScore = (0.08183 * AGE) + (0.39499 * SEX) + (0.02084 * SBP) +(0.69974 * DM) + (0.00212 * CHOL) +(0.41916 * SMOKING)   PFullScore(%)= (1 - (0.978296)exp(FullScore - 7.04423)) * 100 กรณีมีไม่มีค่า total cholesterol ใช้สูตร Thai ASCVD score  FullScore = (0.079 * AGE) + (0.128 * SEX) + (0.019350987 * SBP) + (0.58454 * DM) + (3.512566 * (Waist / Height)) + (0.459 * SMOKING);   PFullScore(%) =(1-(0.978296)exp(FullScore - 7.720484)) * 100

การจัดกลุ่ม Risk Score PFullScore(%) กลุ่ม < 10 % ระดับ 1 ความเสี่ยงต่ำ 10 - <20 % ระดับ 2 ความเสี่ยงปานกลาง 20 - <30 % ระดับ 3 ความเสี่ยงสูง 30 - <40 % ระดับ 4 ความเสี่ยงสูงมาก >=40 % ระดับ 5 ความเสี่ยงสูงอันตราย

เมนู CVD Risk ON HDC

การคืนข้อมูลผ่านระบบ HDC Data Exchange

การคืนข้อมูลผ่านระบบ HDC Data Exchange รายชื่อผู้ป่วย CVD ในเขตรับผิดชอบ

การคืนข้อมูลผ่านระบบ HDC Data Exchange รายชื่อผู้ป่วยที่คัดกรอง CVD ในเขตรับผิดชอบพร้อมผลการคัดกรอง

ประเภทของรายงาน แบบบริการ/กิจกรรมบริการ (work load, service base, hospital base) แบบความครอบคลุม (coverage, community base, pop base)

ความต่าง รายงาน แบบความครอบคลุม กับ แบบบริการ แบบบริการ/กิจกรรม (work load, service base, hospital base) คือ รายงานที่ประเมินจากการที่ ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ ได้รับบริการจากหน่วยงานที่เป็นผู้เก็บรวบรวมรายงานเท่านั้น (ที่ หน่วยนั้นทำเอง) แบบความครอบคลุม (coverage, community base, pop base ) คือ รายงานที่ระบุว่า เป็นความครอบคลุมของเป้าหมายไม่ว่า เป้าหมายจะได้รับบริการจากหน่วยงานใดๆ ซึ่งจะต้องพิจารณา เป้าหมายคือใคร เช่น ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ของ เด็กอายุครบ 1 ปีในเขตรับผิดชอบ ดังนั้น จะต้องประเมินจาก เด็กครบ 1 ปีในเขตรับผิดชอบ ณ ช่วงเวลาที่ต้องการ ว่ามีเด็ก กี่คนและได้รับวัคซีนครบทุกคนหรือไม่ โดยไม่สนใจว่าจะ ได้รับบริการจากหน่วยงานใดก็ตาม ประเมินจากตัวเด็กเป็น สำคัญ คำสำคัญของรายงานความครอบคลุม คือ “ของ” อะไร ซึ่งเป็น เป้าหมาย ที่ต้องนำไปตรวจสอบแล้วจึงนำมารายงานเป็นผลงาน

ความต่างระหว่าง Datacenter กับ Single Database Datacenter หมายถึง ศูนย์รวมของข้อมูลจำนวน มากจากหลายๆแหล่งข้อมูลเข้ามาไว้ด้วยกัน ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูล Health Data Center ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งรวม ฐานข้อมูลจากโรงพยาบาลและหน่วยงานในสังกัด

หลักการของ Database และ Datacenter ขนาดใหญ่ ต้องมีระบบจัดการความซ้ำซ้อนของข้อมูล ต้องมีระบบประมวลผลหาความเชื่อโยงของ ข้อมูล เพื่อลดภาระการบันทึกข้อมูล ต้องมีระบบ Cleansing ข้อมูลไม่ให้เกิดขยะ ในระบบซึ่งจะส่งผลต่อการเนื้อที่การจัดเก็บ ข้อมูล ซึ่งมีผลต่องบประมาณ ต้องสามารถให้บริการข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง ถูกต้อง ทันเวลา และน่าเชื่อถือ

การตัดความซ้ำซ้อนของข้อมูลประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิดเป้าหมายและผลงาน ทำไมต้องตัดความซ้ำซ้อนของประชากร เนื่องจากรายงานส่วนใหญ่ในระบบ HDC เป็น รายงานแบบความครอบคลุมของประชากรในเขต พื้นที่ ซึ่งหากระบุการเป็นประชากรในเขตพื้นที่ ไม่ได้ เมื่อเกิดความซ้ำซ้อนจะทำให้ระบบ รายงานนับผิดพลาด ตัวอย่างเช่น หญิง ตั้งครรภ์หนึ่งคนถูก register เป็นคนในเขต 3 หน่วยบริการ หากไม่ตัดความซ้ำซ้อน หญิง ตั้งครรภ์รายนี้จะเป็นเป้าหมาย 3 หน่วยบริการ เช่นกัน และที่สำคัญเมื่อนำมาเป็นภาพรวมของ รายงานระดับจังหวัด จะทำให้มีหญิงตั้งครรภ์ใน จังหวัด 3 คน แทนที่จะเป็นเพียงคนๆเดียว เมื่อตัดความซ้ำซ้อนแล้ว

การตัดความซ้ำซ้อนของข้อมูลประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิดเป้าหมายและผลงาน จากข้อเสนอในที่ประชุมที่โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต จังหวัด ปทุมธานี เมื่อปี 2557 ซึ่งมี นักวิชาการด้านข้อมูล เจ้าหน้าที่ไอที แต่ละจังหวัด รวมถึงกรม กอง วิชาการ ระดับกระทรวงเข้าร่วมประชุม มีข้อเสนอการใช้ ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ 3 ฐาน เพื่อลดความซ้ำซ้อนของ ประชากร คือ ใช้ฐานข้อมูลประชากรทะเบียนราษฎร์ ของ กระทรวงมหาดไทย ใช้ฐานข้อมูลประชากรสิทธิ์ประกันสุขภาพ สปสช.(DBPOP) ใช้ฐานข้อมูลประชากรจากการสำรวจของหน่วยบริการ (PERSON 43 แฟ้ม) ซึ่ง มติในที่ประชุม(เสียงส่วนใหญ่) เลือกใช้ PERSON 43 แฟ้ม แบบมีเงื่อนไข

การตัดความซ้ำซ้อนของข้อมูลประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิดเป้าหมายและผลงาน สาเหตุที่มีมติเลือก ประชากรจากการสำรวจ (PERSON 43 แฟ้ม) ประชากรทะเบียนราษฎร์ มีการเคลื่อนย้าย แบบไม่ย้าย ทะเบียนบ้านออก ทำให้เกิดการทำงานแล้วไม่ผ่าน เกณฑ์ เพราะเป้าหมายไม่อยู่ในพื้นที่ ประชากรสิทธิ์ประกันสุขภาพ ก็เช่นเดียวกัน มีการ คงไว้ของสิทธิ แต่ตัวไม่อยู่ทำให้พื้นที่ทำงานไม่ได้ เช่นกัน ประชากรจากการสำรวจ (PERSON 43 แฟ้ม) เป็น ประชากรที่หน่วยบริการเป็นผู้รายงานเอง และ สามารถลงไปไปปฏิบัติงานกับเป้าหมายได้จริง ทำให้ เกิดความยุติธรรมต่อหน่วยบริการ

การตัดความซ้ำซ้อนของข้อมูลประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิดเป้าหมายและผลงาน เงื่อนไขการคัดความซ้ำซ้อนของประชากรสำรวจ (PERSON 43 แฟ้ม) จากนิยามสถานะบุคคล(TYPEAREA) ของแฟ้ม PERSON ของ สนย. สามาถระบุได้ ว่าประชากรในเขตรับผิดชอบของหน่วยบริการ คือ ประชากรที่ TYPEAREA 1และ 3 เท่านั้น

การตัดความซ้ำซ้อนของข้อมูลประชากร กับรายงานความครอบคลุม ที่ต้องคิดเป้าหมายและผลงาน เงื่อนไขการคัดความซ้ำซ้อนของประชากรสำรวจ(PERSON 43 แฟ้ม)(ต่อ) จากข้อมูลจะพบว่า มีหน่วยบริการที่สำรวจประชากรอย่างสม่ำเสมอ และ ไม่สำรวจ เลย หรือ สำรวจบางบางส่วน ทำให้เกิดข้อมูลจากแฟ้ม PERSON ซ้ำซ้อนได้เช่นกัน ซึ่ง การตัดความซ้ำซ้อนให้ถือว่า ข้อมูลที่ปรากฏในระบบฐานข้อมูลล่าสุด เป็นข้อมูลที่ น่าเชื่อว่า เป็นการสำรวจล่าสุด ดังนั้น การระบุความล่าสุดของข้อมูลประชากร คือ Fields D_UPDATE ซึ่งจะถูกเปลี่ยนแปลงมีมีการปรับปรุงข้อมูลที่เกี่ยวกับตัว ประชากร เช่น ชื่อ นามสกุล สถานะบุคคล และจะไม่มีเปลี่ยนแปลงหากมารับ บริการในครั้งต่อๆไป ที่ไม่ได้ปรับปรุงข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับแฟ้ม PERSON ข้อสรุปของเงื่อนไข PERSON TYPEAREA 1,3+D_UPDATE ล่าสุด อยู่ ที่หน่วยบริการใด ถือว่าเป็นคนในเขตของหน่วยบริการ นั้นๆ

Person CID 3140600489098 ควรเป็นของหน่วยบริการไหน?

Single Database Hospital Code 10773

Single Database Hospital Code 10774

Data Center HDC

สาเหตุที่ทำให้รายงาน HDC กับหน่วยบริการไม่เท่ากัน ปัญหาการนำเข้าไม่ได้เนื่องจากข้อมูลไม่ตรงโครงสร้าง ข้อมูลที่นำเข้าได้ แต่มีความซ้ำซ้อนกับหน่วยบริการอื่น กฎเกณฑ์ของเงื่อนไขการประมวลผล จากเจ้าของ รายงาน การประมวลผลแบบหน่วยงานเดียว กับ แบบหลาย หน่วยบริการ องค์ประกอบในการประมวลผลต่างกัน การ Mapping รหัสต่างๆ จาก HIS เช่น Lab ใน โปรแกรมของหน่วยบริการ หากไม่ถูกต้องจะทำให้ไม่มี ข้อมูล Lab นั้นๆส่งออก รหัสการวินิจฉัย เป็นต้น การบันทึกเลขบัตรประชาชน ต้องบันทึกให้ถูกต้องตรง ความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งเลขบัตรประชาชนใช้ในการ เชื่อมโยงข้อมูล ความผิดพลาดของ Code SQL