แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ณ 31 พฤษภาคม
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
1.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
SMS News Distribute Service
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
กองแผนงานและวิชาการ & ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561 ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน จปฐ. ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

แนวทางการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2561 เป้าหมายการจัดเก็บข้อมูล จำนวน 12,935,000 ครัวเรือน พื้นที่เป้าหมายในการจัดเก็บข้อมูล  ทุกครัวเรือนที่มีผู้อาศัยอยู่จริงในหมู่บ้าน/ชุมชน ระยะเวลาในการจัดเก็บ ธันวาคม 2560 –กุมภาพันธ์ 2561 จัดเก็บและบันทึกประมวลผลทุกครัวเรือนเสร็จแล้ว ต้องนำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลในที่ประชุมระดับ อปท.

กระบวนการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2561 เม.ย. ผู้บันทึก พัฒนากร นำเสนอผล/รับรอง ระดับ อปท. ก.พ. - มี.ค. เม.ย. ผู้บันทึก/ พัฒนากร ตรวจสอบคุณภาพ ของข้อมูล อำเภอ นำเสนอผล/ รับรองข้อมูล ระดับอำเภอ (ภายใน 10 เม.ย.) (ภายใน 20 เม.ย.) เม.ย. ม.ค. – มี.ค. จังหวัด นำเสนอผล/ รับรองข้อมูล ระดับอำเภอ การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ผู้บันทึก บันทึกข้อมูล จปฐ. การเตรียมการ พ.ย. – ธ.ค. ธ.ค. – ก.พ. (ภายใน 30 เม.ย.) จังหวัดชี้แจง พอ. และ พก - อำเภอชี้แจง ผู้จัดเก็บข้อมูล จปฐ. - จังหวัดฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูล - ลงทะเบียน/แก้ไข ผู้ใช้งานโปรแกรมฯ ผู้จัดเก็บ จัดเก็บข้อมูล จปฐ. จากทุกครัวเรือน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย คณะทำงานฯ ทุกระดับ ประชุมเตรียมการ พ.ย. อำเภอกำหนดพื้นที่ แบบ คนจัดเก็บ คนบันทึกฯ โดยทำเป็นคำสั่งอำเภอ ต.ค. - พ.ย. กระบวนการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2561 เริ่ม

การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. 1. เตรียมการและวางแผนการจัดเก็บข้อมูลฯ (ต.ค. - พ.ย. 60) สำรวจและกำหนดครัวเรือนเป้าหมายในการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. จัดทำ/ปรับปรุง คำสั่งคณะทำงานบริหารการจัดเก็บฯ ทุกระดับ คำสั่งผู้จัดเก็บข้อมูล และคำสั่งผู้บันทึกข้อมูล ลงทะเบียน/แก้ไข ผู้ใช้งานโปรแกรมฯ ผ่านระบบออนไลน์ รายละเอียดส่งกรมฯ อนุมัติสิทธิ ภายใน 20 พ.ย. 2560 คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ทุกระดับ วางแผนบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ สพจ./สพอ. และผู้นำ อช. ประสานขอความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการบริหารการจัดเก็บข้อมูล ระดับ อปท. สพจ. ประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับอำเภอ สพอ. ประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บข้อมูลฯ สพจ. ฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูลฯ

การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. 2. การจัดเก็บ/บันทึกและประมวลผลข้อมูล (ธ.ค. 60 - มี.ค. 61) สพจ./สพอ./อปท. รณรงค์ เชิญชวนการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. คณะทำงานฯ พัฒนากรและผู้นำ อช. อช. ร่วมดำเนินการบริหารจัดการฯ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วนและมีคุณภาพ ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลฯ ประจำปี 2561 โดยผู้จัดเก็บข้อมูลทำการสัมภาษณ์ข้อมูลครัวเรือนจากหัวหน้าครัวเรือนหรือผู้ให้ข้อมูล ตามแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. (ทุกข้อ) เมื่อสัมภาษณ์ฯ แล้วเสร็จ ผู้จัดเก็บข้อมูลทำการตรวจสอบข้อมูล และสรุปคุณภาพชีวิตของครัวเรือนมอบให้ครัวเรือน พร้อมให้หัวหน้าครัวเรือน ลงลายมือชื่อรับรองข้อมูลฯ ว่ามีการจัดเก็บและข้อมูลถูกต้องเป็นจริง แล้วส่งให้หัวหน้าผู้จัดเก็บข้อมูลตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล หัวหน้าผู้จัดเก็บข้อมูลฯ รวบรวมและนำส่งแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. ทั้งหมดให้พัฒนากร/คณะทำงานฯ ระดับตำบล นำส่งผู้บันทึกข้อมูลทำการบันทึกข้อมูล ผู้บันทึกฯ บันทึกและประมวลผลข้อมูลทุกครัวเรือน และตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน แล้วนำส่งข้อมูลที่บันทึกทั้งหมดให้สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ หรืออัพโหลด (Upload) ข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลกลาง (Server) ในระบบ Online พร้อมแจ้งให้สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอทราบ

การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. 3. ตรวจสอบคุณภาพและรับรองข้อมูล (มี.ค. - เม.ย. 61) พัฒนากรและผู้บันทึกข้อมูล จปฐ. นำเสนอผลข้อมูล จปฐ. ต่อที่ประชุมระดับ อปท. เพื่อรับทราบ/ร่วมตรวจสอบ/แก้ไข/ยืนยันผลการจัดเก็บ/นำไปใช้ประโยชน์ พร้อมจัดทำคำรับรองคุณภาพข้อมูลฯ ระดับ อปท. ส่งอำเภอ ภายในวันที่ 10 เมษายน 2561 คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับอำเภอ ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล แต่ละตำบลและภาพรวมอำเภอ แล้วนำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนระดับอำเภอ เพื่อรับทราบ/ตรวจสอบ/ยืนยันความถูกต้องครบถ้วน/ใช้ประโยชน์ พร้อมจัดทำคำรับรองคุณภาพข้อมูลฯ ระดับอำเภอ ส่งจังหวัด ภายในวันที่ 20 เมษายน 2561 คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล แต่ละอำเภอ และภาพรวมจังหวัด แล้วนำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนระดับจังหวัด เพื่อรับทราบ/ตรวจสอบ/ยืนยันความถูกต้องครบถ้วน/ใช้ประโยชน์ พร้อมจัดทำคำรับรองคุณภาพข้อมูลฯระดับจังหวัด ส่งกรมฯ ภายในวันที่ 30 เมษายน 2561

การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. 4. ติดตามประเมินผล 5. การรายงาน คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ทุกระดับ ติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูลฯ ทันที เมื่อเริ่มดำเนินการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผลข้อมูล โดยยึดตามแผนปฏิบัติการการบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล ของพัฒนากรผู้ประสานงานตำบล 5. การรายงาน จังหวัดรายงานผลความก้าวหน้าแบบ Online ที่ cddata.cdd.go.th/datacenter/bmnreport เป็นประจำสม่ำเสมอ รายงานรายชื่อผู้จัดเก็บข้อมูลดีเด่น ผู้บันทึกข้อมูลดีเด่น และ อปท. ดีเด่น ในระบบงานศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์ ให้กรมฯ ภายในวันที่ 30 เมษายน 2560

แผนปฏิบัติการบริหารการจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูล จปฐ. ปี 2561 กระทรวงมหาดไทย สั่งการทุกจังหวัดเรื่อง การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2561  ต.ค. 60 พช. 2 ตรวจสอบครัวเรือนเป้าหมาย และความพร้อมของแบบสอบถามข้อมูล จปฐ.  ต.ค.-พ.ย. 60 พช./จ./อ. 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับจังหวัด  พ.ย. 60 4 จัดทำคำสั่งคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ คำสั่งแต่งตั้งผู้จัดเก็บ และผู้บันทึกข้อมูล จปฐ. พร้อมลงทะเบียนผู้ใช้งานโปรแกรมฯ ผ่านระบบออนไลน์ แล้วแจ้งรายชื่อให้กรมการพัฒนาชุมชน พ.ย. 60 จ./อ. 5 ประชุมคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับจังหวัด จ. 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับอำเภอ 7 ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้จัดเก็บข้อมูล จปฐ. ประจำปี 2561 8 ฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูล เรื่องการใช้โปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ.  ธ.ค. 60 9 รณรงค์และเชิญชวนการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ธ.ค. 60-ก.พ. 61 พช./จ. 10 จัดเก็บข้อมูล จปฐ. อ. 11 บันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ.  ธ.ค. 60-มี.ค. 61 12 ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ธ.ค. 60-มี.ค. 61 13 นำเสนอผลการจัดเก็บและรับรองคุณภาพข้อมูล จปฐ. ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  เม.ย. 61 14 นำเสนอผลการจัดเก็บและรับรองคุณภาพข้อมูล จปฐ. ระดับอำเภอ   เม.ย. 61 15 นำเสนอผลการจัดเก็บและรับรองคุณภาพข้อมูล จปฐ. ระดับจังหวัด 16 คัดเลือกผู้จัดเก็บ ผู้บันทึก และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดีเด่น 17 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชนแก่ภาคีการพัฒนา ระดับจังหวัด  มิ.ย. 61 18 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนใช้ประโยชน์ข้อมูล จปฐ.  ต.ค. 60-ก.ย. 61

ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน แนวทาง การตรวจสอบข้อมูล จปฐ. ปี 2561 ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

แนวทางการตรวจสอบข้อมูล จปฐ. ปี 2561 1. การตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นไปตามข้อเท็จจริง 1.1 ศึกษาและดำเนินการตามคู่มือการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ปี 2560-2564 หน้า 26-34 ประเด็นชี้แจงภายในเล่มแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน และหน้า 35-40 การตรวจสอบความถูกต้องและความสมเหตุสมผลของข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน 1.2 ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนและความสมเหตุสมผลของข้อมูลที่จัดเก็บในแบบสอบถาม โดยเฉพาะพื้นที่และเขตการปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ให้ถูกต้อง ก่อนบันทึกข้อมูล 1.3 เปรียบเทียบข้อมูลในแบบสอบถามและโปรแกรมฯ ให้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นไปตามข้อเท็จจริง

แนวทางการตรวจสอบข้อมูล จปฐ. ปี 2561 2. จำนวนครัวเรือน 2.1 จัดเก็บข้อมูลครัวเรือนเป้าหมายในโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน ครบ ทุกครัวเรือน 2.2 หมู่บ้าน/ชุมชน ที่มีจำนวนครัวเรือนน้อยกว่า 10 ครัวเรือน ทำการตรวจสอบข้อเท็จจริงอีกครั้ง อาจมีบางหมู่บ้าน/ชุมชนใช้พื้นที่ในการบันทึกข้อมูลผิด

แนวทางการตรวจสอบข้อมูล จปฐ. ปี 2561 3. จำนวนประชากร 3.1 จำนวนประชากรเด็ก กรณีพบประชากรอายุน้อยกว่า 15 ปี เป็นหัวหน้าครัวเรือน ให้ตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 3.2 จำนวนประชากรผู้สูงอายุ กรณีพบประชากรอายุมากกว่า 90 ปี ให้ตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 3.3 จำนวนประชากรต่างด้าว กรณีครัวเรือนที่มีจำนวนประชากรไทยน้อยกว่าจำนวนประชากรต่างด้าว ให้ตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 3.4 หมู่บ้าน/ชุมชน ที่มีจำนวนประชากรเฉลี่ยน้อยกว่า ๓ คน/ครัวเรือน ทำการตรวจสอบข้อเท็จจริง อีกครั้ง อาจมีบางหมู่บ้าน/ชุมชนใช้พื้นที่ ในการบันทึกข้อมูลผิด หรือจัดเก็บ/บันทึกข้อมูลประชากร ไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริง

แนวทางการตรวจสอบข้อมูล จปฐ. ปี 2561 4. รายได้เฉลี่ย 4.1 ตรวจสอบรายได้ของครัวเรือนเป้าหมายในโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน 4.2 กรณีครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยมากกว่า 1,000,000 บาท/คน/ปี (หรือไม่สมเหตุสมผลกับอาชีพ) ให้ตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 4.3 กรณีครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยน้อยกว่า 10,000 บาท/คน/ปี ให้ตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 5. คำรับรองคุณภาพข้อมูล คำรับรองคุณภาพข้อมูลในทุกระดับ ต้องตรงกับรายงานผล ในโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล

ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กลุ่มงานข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท Thank You 02 – 1416300 – 304 , 02 -1416299 bmn.nrd@gmail.com www.rdic.cdd.go.th