ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ปี 2562
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 สรุปผลการอภิปรายพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการและวิชาการ ระหว่างกรมการแพทย์กับเขตสุขภาพด้าน ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 9 พฤษภาคม 2560 รพ.สวรรค์ประชารักษ์ จ. นครสวรรค์

สถานการณ์ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 เฉลี่ย ร้อยละ 18.19 Aged society ที่มา : ระบบรายงานตรวจราชการ รอบที่ 1/2560 (ม.ค.60) ข้อมูลประเทศ ณ 8 พ.ค.2560 ประชากรไทย 66,032,924 คน ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 11,248,528 คน คิดเป็น ร้อยละ17.03 ที่มา : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล (www.thailandmeters.mahidol.ac.th)

ประชากรผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 ปี57-59 จังหวัด ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปชก.ทั้งหมด ผส.ทั้งหมด ร้อยละ นครสวรรค์ 1,072,736 165,201 15.40 1,072,902 182,393 16.90 1,066,504 176,720 16.57 กำแพงเพชร 728,631 101,454 13.92 644,337 92,371 14.34 729,522 104,566 14.33 พิจิตร 547,822 90,939 546,318 94,780 17.34 544,003 97,621 17.94 อุทัยธานี 240,636 52,862 21.96 257,669 49,351 19.15 246,076 52,238 21.23 ชัยนาท 332,769 60,972 18.32 332,313 62,293 18.75 331,614 64,721 19.52 เขต 3 2,922,594 471,428 16.13 2,853,539 481,188 16.86 2,917,719 495,866 16.99

มาตรการดูแลผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 ส่งเสริมระบบการคัดกรองภาวะสุขภาพ/ประเมินสุขภาพ คลินิกผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long term care)คุณภาพ

ร้อยละผู้สูงอายุจำแนกตามการประเมิน ADL ปี 2559 (เป้าหมาย : กลุ่มติดบ้าน + กลุ่มติดเตียง ไม่เกิน 15 %) จังหวัด กลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 นครสวรรค์ 93.00 92.50 94.40 6.00 6.40 4.80 1.00 1.10 0.80 กำแพงเพชร 91.23 88.88 92.45 7.24 9.42 6.49 1.53 1.57 1.06 พิจิตร 91.70 94.73 95.43 4.43 4.08 3.51 1.01 1.05 อุทัยธานี 91.62 91.40 95.47 6.90 7.32 3.58 1.47 1.28 0.95 ชัยนาท 86.18 92.05 94.25 12.04 6.52 4.69 1.78 1.44

Small Success ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1.มีคณะทำงานระดับจังหวัด 2.ชี้แจงนโยบายร่วมกับภาคีเครือข่าย 3.เขตสุขภาพร่วมกับ สสจ. คัดเลือกพื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 4. CUPดำเนินการจัดอบรม Care Giver 1.อบรมฟื้นฟูทักษะ และศักยภาพ ของ CM 2. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ 35% 3. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินและจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล ร้อยละ 50 1.ผู้สูงอายุได้รับการประเมินและจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล ร้อยละ 100 2. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40 ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 เป้าหมายร้อยละ 50 ตำบลเข้าร่วม > ตำบลผ่านเกณฑ์ > 32 21 41 68 46 42 22 250 155 65 25

การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ผลการดำเนินงาน เป้าหมายปี 2560 ปี 2559 รวม 1. Care manager เป้าหมาย ผ่านการอบรม 270 คน 294 คน (109%) - 262 คน 556 คน 2. Care giver เป้าหมาย 1,080 คน 1,241 คน (115%) 1,233 คน 2,298 คน 3. Care plan รายบุคคล เป้าหมาย 100% 28.8% (1,289 ฉบับ) 100% (3,631 ฉบับ) 4. การโอนเงินเพื่อซื้อบริการ ตาม Care plan 878 ราย

สรุปปัญหาสำคัญด้านผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 ขาดการดำเนินการหลังจากคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ (คัดแล้วกอง) ผู้สูงอายุจากการคัดกรอง (กลุ่มเสี่ยง) ไม่ยอมมาเข้าสู่ระบบบริการ ระบบบริการผู้สูงอายุในสถานบริการไม่ชัดเจน (คลินิกผู้สูงอายุ) นโยบายการดูแลผู้สูงอายุ ไม่ต่อเนื่อง เช่น คลินิกผู้สูงอายุ อื่น ๆ - การดำเนินงาน LTC มีปัญหา จำนวน CM/CG ไม่เพียงพอและขาดงบประมาณในการอบรม - การบริหารจัดการงบและการเบิกจ่ายงบ LTC เบิกจ่ายไม่ได้

GAP Analysis และข้อเสนอการพัฒนา ผู้สูงอายุ เขต3 2. Leadership and Governance - นโยบายคลินิกผู้สูงอายุ ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินการ - การดูแลระยะยาว LTC เร่งดำเนินการเกินไป พัฒนารูปแบบ/มาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุ ที่สามารถปฏิบัติได้ และเป็นตัวชี้วัดตรวจราชการ / PA พัฒนาต้นแบบนำไปใช้นำร่องก่อน ประเมินถอดบทเรียน ก่อนนำมาใช้ จัดทำกรอบอัตรากำลัง ตามปริมาณงาน FTE 3. Health workforce - ปริมาณงาน ไม่รองรับอัตรากำลังที่มีอยู่และไม่คงที่ - ขาดการพัฒนาบุคลากร รองรับงานที่เพิ่มขึ้นหรือตามนโยบาย จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรของเขต HRD และแผนรองรับ PCC

GAP Analysis และข้อเสนอการพัฒนา ผู้สูงอายุ เขต3 1. Service delivery - ระบบบริการผู้สูงอายุในสถานบริการ ยังไม่ชัดเจน ไม่พัฒนาต่อเนื่อง (คลินิกผู้สูงอายุ) - รูปแบบการให้บริการ มีหลายระบบ (NCD , สมองเสื่อม , ข้อเข่าเสื่อม … ) พัฒนารูปแบบ/มาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุ ที่สามารถปฏิบัติได้จริง และติดตามประเมิน (บูรณาการร่วมกับคลินิก NCD) พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อการส่งต่อ การดูแลต่อเนื่องที่มีคุณภาพจากรพ. (การดูแลระยะกลาง : Intermediate care) คัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุเฉพาะโรคที่สำคัญ หรือโรคที่มีระบบบริการรองรับ (คัดกรองฯ กลุ่ม 2 ) - การคัดกรองประเมิน / ประเมิน ผู้สูงอายุ ที่มีมากเกินไป เป็นภาระให้พื้นที่ - การดำเนินการหลังจากคัดกรองฯ ขาดระบบการเชื่อมโยง ส่งต่อ มีการประสานงาน ในระดับสถานพยาบาล ในการส่งต่อ ติดตาม การดูแล รักษา (พยาบาลประสานงาน)

GAP Analysis และข้อเสนอการพัฒนา ผู้สูงอายุ เขต3 4 . Information / Technology - ขาดข้อมูลด้านการรักษาผู้สูงอายุ - เทคโนโลยี/นวัตกรรม ที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศผู้สูงอายุ ให้มีความทันสมัย ครอบคลุม ติดตาม เคสคนไข้ได้ การประเมินเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ พัฒนาเมืองที่เป็นมิตรผู้สูงวัย ขอรับสนับสนุนงบจากกองทุน / งบบูรณาการ 5. Finance - ขาดงบประมาณด้านสุขภาพ - การเบิกจ่ายงบ LTC ไม่ได้ พัฒนามาตรฐานการดำเนินงาน LTC ทำ Care plan ให้สามารถเบิกจ่ายได้

สิ่งที่ต้องการรับการสนับสนุนจากกรม/ส่วนกลาง เขตสุขภาพที่ 3 1.การบูรณาการงานผู้สูงอายุของส่วนกลาง/กรมต่างๆ (บูรณการให้เสร็จ) 2.การขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุที่ชัดเจน ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย 3.ระบบข้อมูลให้มีความครอบคลุม มีคุณภาพ 4.โครงสร้างระบบการบริหารจัดการงาน หรือ Body ที่ชัดเจน

ขอขอบพระคุณ Website : http://agingthai.dms.moph.go.th/ สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โทร 02 02484841-7 Website : http://agingthai.dms.moph.go.th/ เฟซบุ้คแฟนเพจ : https://www.facebook.com/Institute.of.Geriatric.Medicine.Thailand ลิงค์โปรแกรมคัดกรองฯ : http://164.115.22.135/geriatrics/ 04/04/62