ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 สรุปผลการอภิปรายพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการและวิชาการ ระหว่างกรมการแพทย์กับเขตสุขภาพด้าน ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 9 พฤษภาคม 2560 รพ.สวรรค์ประชารักษ์ จ. นครสวรรค์
สถานการณ์ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 เฉลี่ย ร้อยละ 18.19 Aged society ที่มา : ระบบรายงานตรวจราชการ รอบที่ 1/2560 (ม.ค.60) ข้อมูลประเทศ ณ 8 พ.ค.2560 ประชากรไทย 66,032,924 คน ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 11,248,528 คน คิดเป็น ร้อยละ17.03 ที่มา : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล (www.thailandmeters.mahidol.ac.th)
ประชากรผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 ปี57-59 จังหวัด ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปชก.ทั้งหมด ผส.ทั้งหมด ร้อยละ นครสวรรค์ 1,072,736 165,201 15.40 1,072,902 182,393 16.90 1,066,504 176,720 16.57 กำแพงเพชร 728,631 101,454 13.92 644,337 92,371 14.34 729,522 104,566 14.33 พิจิตร 547,822 90,939 546,318 94,780 17.34 544,003 97,621 17.94 อุทัยธานี 240,636 52,862 21.96 257,669 49,351 19.15 246,076 52,238 21.23 ชัยนาท 332,769 60,972 18.32 332,313 62,293 18.75 331,614 64,721 19.52 เขต 3 2,922,594 471,428 16.13 2,853,539 481,188 16.86 2,917,719 495,866 16.99
มาตรการดูแลผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 ส่งเสริมระบบการคัดกรองภาวะสุขภาพ/ประเมินสุขภาพ คลินิกผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long term care)คุณภาพ
ร้อยละผู้สูงอายุจำแนกตามการประเมิน ADL ปี 2559 (เป้าหมาย : กลุ่มติดบ้าน + กลุ่มติดเตียง ไม่เกิน 15 %) จังหวัด กลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 นครสวรรค์ 93.00 92.50 94.40 6.00 6.40 4.80 1.00 1.10 0.80 กำแพงเพชร 91.23 88.88 92.45 7.24 9.42 6.49 1.53 1.57 1.06 พิจิตร 91.70 94.73 95.43 4.43 4.08 3.51 1.01 1.05 อุทัยธานี 91.62 91.40 95.47 6.90 7.32 3.58 1.47 1.28 0.95 ชัยนาท 86.18 92.05 94.25 12.04 6.52 4.69 1.78 1.44
Small Success ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1.มีคณะทำงานระดับจังหวัด 2.ชี้แจงนโยบายร่วมกับภาคีเครือข่าย 3.เขตสุขภาพร่วมกับ สสจ. คัดเลือกพื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 4. CUPดำเนินการจัดอบรม Care Giver 1.อบรมฟื้นฟูทักษะ และศักยภาพ ของ CM 2. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ 35% 3. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินและจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล ร้อยละ 50 1.ผู้สูงอายุได้รับการประเมินและจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล ร้อยละ 100 2. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40 ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 เป้าหมายร้อยละ 50 ตำบลเข้าร่วม > ตำบลผ่านเกณฑ์ > 32 21 41 68 46 42 22 250 155 65 25
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ผลการดำเนินงาน เป้าหมายปี 2560 ปี 2559 รวม 1. Care manager เป้าหมาย ผ่านการอบรม 270 คน 294 คน (109%) - 262 คน 556 คน 2. Care giver เป้าหมาย 1,080 คน 1,241 คน (115%) 1,233 คน 2,298 คน 3. Care plan รายบุคคล เป้าหมาย 100% 28.8% (1,289 ฉบับ) 100% (3,631 ฉบับ) 4. การโอนเงินเพื่อซื้อบริการ ตาม Care plan 878 ราย
สรุปปัญหาสำคัญด้านผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3 ขาดการดำเนินการหลังจากคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ (คัดแล้วกอง) ผู้สูงอายุจากการคัดกรอง (กลุ่มเสี่ยง) ไม่ยอมมาเข้าสู่ระบบบริการ ระบบบริการผู้สูงอายุในสถานบริการไม่ชัดเจน (คลินิกผู้สูงอายุ) นโยบายการดูแลผู้สูงอายุ ไม่ต่อเนื่อง เช่น คลินิกผู้สูงอายุ อื่น ๆ - การดำเนินงาน LTC มีปัญหา จำนวน CM/CG ไม่เพียงพอและขาดงบประมาณในการอบรม - การบริหารจัดการงบและการเบิกจ่ายงบ LTC เบิกจ่ายไม่ได้
GAP Analysis และข้อเสนอการพัฒนา ผู้สูงอายุ เขต3 2. Leadership and Governance - นโยบายคลินิกผู้สูงอายุ ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินการ - การดูแลระยะยาว LTC เร่งดำเนินการเกินไป พัฒนารูปแบบ/มาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุ ที่สามารถปฏิบัติได้ และเป็นตัวชี้วัดตรวจราชการ / PA พัฒนาต้นแบบนำไปใช้นำร่องก่อน ประเมินถอดบทเรียน ก่อนนำมาใช้ จัดทำกรอบอัตรากำลัง ตามปริมาณงาน FTE 3. Health workforce - ปริมาณงาน ไม่รองรับอัตรากำลังที่มีอยู่และไม่คงที่ - ขาดการพัฒนาบุคลากร รองรับงานที่เพิ่มขึ้นหรือตามนโยบาย จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรของเขต HRD และแผนรองรับ PCC
GAP Analysis และข้อเสนอการพัฒนา ผู้สูงอายุ เขต3 1. Service delivery - ระบบบริการผู้สูงอายุในสถานบริการ ยังไม่ชัดเจน ไม่พัฒนาต่อเนื่อง (คลินิกผู้สูงอายุ) - รูปแบบการให้บริการ มีหลายระบบ (NCD , สมองเสื่อม , ข้อเข่าเสื่อม … ) พัฒนารูปแบบ/มาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุ ที่สามารถปฏิบัติได้จริง และติดตามประเมิน (บูรณาการร่วมกับคลินิก NCD) พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อการส่งต่อ การดูแลต่อเนื่องที่มีคุณภาพจากรพ. (การดูแลระยะกลาง : Intermediate care) คัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุเฉพาะโรคที่สำคัญ หรือโรคที่มีระบบบริการรองรับ (คัดกรองฯ กลุ่ม 2 ) - การคัดกรองประเมิน / ประเมิน ผู้สูงอายุ ที่มีมากเกินไป เป็นภาระให้พื้นที่ - การดำเนินการหลังจากคัดกรองฯ ขาดระบบการเชื่อมโยง ส่งต่อ มีการประสานงาน ในระดับสถานพยาบาล ในการส่งต่อ ติดตาม การดูแล รักษา (พยาบาลประสานงาน)
GAP Analysis และข้อเสนอการพัฒนา ผู้สูงอายุ เขต3 4 . Information / Technology - ขาดข้อมูลด้านการรักษาผู้สูงอายุ - เทคโนโลยี/นวัตกรรม ที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศผู้สูงอายุ ให้มีความทันสมัย ครอบคลุม ติดตาม เคสคนไข้ได้ การประเมินเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ พัฒนาเมืองที่เป็นมิตรผู้สูงวัย ขอรับสนับสนุนงบจากกองทุน / งบบูรณาการ 5. Finance - ขาดงบประมาณด้านสุขภาพ - การเบิกจ่ายงบ LTC ไม่ได้ พัฒนามาตรฐานการดำเนินงาน LTC ทำ Care plan ให้สามารถเบิกจ่ายได้
สิ่งที่ต้องการรับการสนับสนุนจากกรม/ส่วนกลาง เขตสุขภาพที่ 3 1.การบูรณาการงานผู้สูงอายุของส่วนกลาง/กรมต่างๆ (บูรณการให้เสร็จ) 2.การขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุที่ชัดเจน ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย 3.ระบบข้อมูลให้มีความครอบคลุม มีคุณภาพ 4.โครงสร้างระบบการบริหารจัดการงาน หรือ Body ที่ชัดเจน
ขอขอบพระคุณ Website : http://agingthai.dms.moph.go.th/ สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โทร 02 02484841-7 Website : http://agingthai.dms.moph.go.th/ เฟซบุ้คแฟนเพจ : https://www.facebook.com/Institute.of.Geriatric.Medicine.Thailand ลิงค์โปรแกรมคัดกรองฯ : http://164.115.22.135/geriatrics/ 04/04/62