กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรม AntHOS โดยธวัชชัย เข็มอุทา 2/12/2556.
Advertisements

ความก้าวหน้า Loei Health Data Center
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
การค้นหาเส้นทางและพิกัดตำแหน่งบ้านผู้ป่วย
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เขตสุขภาพ ที่11.
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบันทึกข้อมูล Social Risk ใน HDC
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
HDC แผนแพทย์ไทย.
การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
ข้อมูลงาน EPI สสจ.อุดรธานี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ ทิศทางการพัฒนาส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ยุค Thailand 4.0 ร้อยละของวัยทำงาน อายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ กลุ่มเป้าหมาย วัยทำงานอายุ 30-44 ปี ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 55 วิธีการจัดเก็บข้อมูล รพ.สต. และ PCU ของโรงพยาบาลบันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการ เช่น JHCIS, HosXP PCU เป็นต้น และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม แหล่งข้อมูล Health Data Center (HDC) รายการข้อมูลสำหรับคำนวณผลงานตัวชี้วัดระดับขั้นความสำเร็จที่ 4 และ 5 - ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ รายการข้อมูล 1 A = จำนวนประชากรวัยทำงานอายุ 30 ปี-44 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ รายการข้อมูล 2 B = จำนวนประชากรวัยทำงานอายุ 30 ปี-44 ปี ที่ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทั้งหมด สูตรคำนวณตัวชี้วัด A/B * 100 ระยะเวลาประเมินผล กรมอนามัยประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ 2 รอบ คือ รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560–กุมภาพันธ์ 2561) รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561–กรกฎาคม 2561) เกณฑ์การประเมิน: ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก ขั้นตอน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1    2 3 4 5

สำหรับศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 - มีสื่อการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4 ด้าน อย่างน้อย 1 จังหวัด/ศูนย์ - มีการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน อย่างน้อย 1 จังหวัด - สื่อการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ - เอกสารการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน 2 มีรูปแบบการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์โดยผู้นำสุขภาพในชุมชน/สถานบริการ/สถานประกอบการ อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง - รูปแบบการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์โดยผู้นำสุขภาพ 3 มีนโยบายสาธารณะ เกี่ยวกับ Healthy eating/Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ อย่างน้อย 1 เรื่อง/จังหวัด/ศูนย์อนามัย - สรุปนโยบายเกี่ยวกับ Health eating/Active living /Environmental health 4 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.75 จากค่า baseline ของแต่ละศูนย์อนามัย (ณ 25 ก.ย. 60 จาก HDC) - ข้อมูลจาก HDC   5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 จากค่า baseline ของแต่ละศูนย์อนามัย (ณ 25 ก.ย. 60 จาก HDC) คะแนนรวม

สำหรับศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 มีสรุปรายงานการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน อย่างน้อย 1 จังหวัด/ศูนย์ - สรุปรายงานการเฝ้าระวัง   2 ได้นวัตกรรมชุมชน/องค์กร อย่างน้อย จังหวัดละ 1 เรื่อง - นวัตกรรมชุมชน 3 ได้นโยบายเกี่ยวกับ Healthy eating/Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ครบทั้ง 3 เรื่อง - นโยบายเกี่ยวกับHealth eating /Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ 4 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 จากค่า baseline ของแต่ละศูนย์อนามัย (ณ 25 ก.ย. 60 จาก HDC) -ข้อมูลจาก HDC -รายงานข้อมูลการดำเนินงาน 5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 จากค่า baseline ของแต่ละศูนย์อนามัย (ณ 25 ก.ย. 60 จาก HDC) คะแนนรวม

สำหรับสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 - มีสื่อการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 4 ด้าน อย่างน้อย 1 เรื่อง (0.5 คะแนน) - มีการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ในพื้นที่ต้นแบบ อย่างน้อย 1 แห่ง (0.5 คะแนน) - สื่อการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ - เอกสารการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน 2 มีรูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในพื้นที่ต้นแบบ อย่างน้อย 1 แห่ง -รูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 3 มีนโยบายสาธารณะ เกี่ยวกับ Healthy eating/ Active living/ Environmental health ในระดับพื้นที่ อย่างน้อย 1 เรื่อง -สรุปนโยบายเกี่ยวกับ Health eating/Active living /Environmental health 4 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี ในพื้นที่ต้นแบบ มีค่าดัชนีมวลกายปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 จากค่า baseline -ข้อมูลจาก การสำรวจภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในพื้นที่ต้นแบบ 5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี ในพื้นที่ต้นแบบ มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 จากค่าbaseline   คะแนนรวม

สำหรับสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 มีสรุปรายงานการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ในพื้นที่ต้นแบบ อย่างน้อย 1 แห่ง - สรุปรายงานการเฝ้าระวัง   2 ได้นวัตกรรมในพื้นที่ต้นแบบ อย่างน้อย 1 เรื่อง - นวัตกรรมในพื้นที่ต้นแบบ 3 ได้นโยบายเกี่ยวกับ Healthy eating/Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ครบทั้ง 3 เรื่อง - นโยบายเกี่ยวกับ Health eating /Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ 4 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี ในพื้นที่ต้นแบบ มีค่าดัชนีมวลกายปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 จากค่า baseline -ข้อมูลจาก การสำรวจภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในพื้นที่ต้นแบบ - รายงานข้อมูลการดำเนินงาน 5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี ในพื้นที่ต้นแบบ มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 จากค่า baseline คะแนนรวม

ขอบคุณค่ะ