งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ
ช่วยชีพฉุกเฉิน การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ

2 การแพทย์ฉุกเฉินไทย การแพทย์ฉุกเฉินไทยได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง สามารถลดการบาดเจ็บ ป้องกันอาการป่วยมิให้รุนแรง ขึ้น ลดการเสียชีวิตและความบกพร่องพิการของอวัยวะ สำคัญด้วยความร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วนทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน แห่งชาติเป็นหน่วยงานประสาน ส่งเสริม สนับสนุน มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 จนถึงปัจจุบัน

3 การแพทย์ฉุกเฉินไทย การแพทย์ฉุกเฉินไทยยังมีภารกิจที่ต้องผลักดันการ พัฒนาการแพทย์ฉุกเฉินไทยในอีกหลายมิติ ตั้งแต่การ เตรียมพร้อมช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินจนถึงการพ้นภาวะ วิกฤติและส่งต่อสู่การฟื้นฟู ให้กลับมาเป็นปกติสุข

4 จำนวนปฏิบัติการกู้ชีพ
Advanced Life Support (ALS) Immediate Life Support (ILS) Basic Life Support (BLS) First Response Unit (FR) รายงาน ปี พ.ศ จำนวนปฏิบัติการ 1,403,746 ครั้ง

5 สถิติผลการรักษาขั้นต้น
รายงาน ปี พ.ศ ผู้บาดเจ็บจำนวน 1,413,681 ราย

6 ปัจจัยในการเพิ่มโอกาสรอดชีวิตให้กับผู้ป่วยฉุกเฉิน
ระยะเวลาเกิดเหตุ - เวลาที่แจ้งเหตุ ระยะเวลารับแจ้งเหตุ - ชุดปฏิบัติการไปถึงที่เกิดเหตุ ความรุนแรงอาการ ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินที่ถูกวิธี

7 ระบบเดิม ระบบใหม่

8 ระบบที่พัฒนา พิสูจน์บุคคลจากลายนิ้วมือ (กระทรวงมหาดไทย)
ตรวจสอบประวัติการรักษาพยาบาล (กระทรวงสาธารณสุข / สปสช.)

9 ระบบที่พัฒนา Citizen ID Citizen ID กรณีที่ทราบเลขประจำตัวประชาชน
1 Citizen ID ศูนย์สั่งการ 4 ประวัติการ รักษาพยาบาล 2 Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข Citizen ID 3 ประวัติการ รักษาพยาบาล

10 ประวัติการรักษาพยาบาล
ระบบที่พัฒนา กรณีที่ไม่ทราบเลขประจำตัวประชาชน กรมการปกครอง 1 3 7 2 4 เวลาทดสอบ 21 วินาที Citizen ID ประวัติการ รักษาพยาบาล Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ศูนย์สั่งการ 5 Citizen ID ประวัติการรักษาพยาบาล 6

11 ประโยชน์ที่ได้รับ พิสูจน์บุคคลจากลายนิ้วมือ กรณีผู้ป่วยหมดสติหรือ ไม่มีหลักฐานยืนยันตัวตน ตรวจสอบประวัติการรักษาพยาบาล การแพ้ยา เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนชุดปฏิบัติการในการรักษาพยาบาลขั้นต้น เพื่อการรักษาที่ถูกต้อง รวดเร็ว และปลอดภัยมากขึ้น ใช้ข้อมูลประวัติการรักษาพยาบาลเป็นข้อมูลสนับสนุนโรงพยาบาลที่นำส่ง เพื่อการวินิจฉัย และทำการรักษาพยาบาล ต่อไป

12 ปัจจัยความสำเร็จของโครงการ
ได้รับความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการข้อมูล เพื่อใช้ข้อมูลร่วมกัน ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ฯลฯ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ ซอฟท์แวร์ ที่ใช้ในการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ

13

14 สมาชิก 1.นายประสงค์ เตชาภรณ์พงศ์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) 2.นายสัมฤทธิ์ สุขทวี สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ศทส.) 3.นายธีปกรณ์ รักษาประเสริฐกุล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ศทส.) 4.นายมณฑล บัวแก้ว สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สนย.) 5.นายถิรภัทร์ ประกอบการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สนย.) 6.นายดุลยวัฒน์ มาป้อง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 7.นายภัคพล ตังโพธิ์กลาง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 8.นายธวัชชัย สุขบำเพิง กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย


ดาวน์โหลด ppt การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google