สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
Advertisements

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Input&Output เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นาย ภคินนัย ชมภูนุช ม.4/1 เลขที่ 8 นางสาว ฟ้ารุ่ง วะสาร ม.4/1 เลขที่ 27 นางสาว รัฐภัทร บุญทัน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลหนองฮี ยินดีต้อนรับ คณะท่านผู้บริหารระดับสูง ด้วยความยินดียิ่ง.
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
L I O รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนมกราคม 2555
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
Market System Promotion & Development Devision
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
บทที่ 6. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) ด.ญ.กัณฐิกา จันแย้ ม.4.3 เลขที่ 1
โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
การกำจัดขยะและสารเคมี
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
พลวัตความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ :
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
ขั้นตอนการเบิก-จ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง
นโยบายการคลัง รายวิชา : Week 06.
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
การสนับสนุนกิจกรรม Win back ลูกค้าคู่แข่ง บภ.1.1
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
บ้านเรียนดี สรรสร้างสื่อดี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
ฉลากหวาน มัน เค็ม หรือฉลาก GDA (Guideline Daily Amount) คือ ฉลาก ที่แสดงค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมัน และโซเดียม ในหนึ่งหน่วยบรรจุภัณฑ์ เช่น ซอง ถุง กล่องของผลิตภัณฑ์อาหารนั้น.
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเสริมหน้าอกด้วยซิลิโคน และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ December 2012

หัวข้อน่ารู้ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กลุ่มทรู เรื่องน่ารู้ หน้า วัตถุประสงค์ 3 สิทธิประโยชน์ทางภาษี 5 ทางเลือกการลงทุน (Investment Guideline) 11 ข้อบังคับกองทุนที่ควรทราบ 12 2 :

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพคืออะไร วัตถุประสงค์ 1. สวัสดิการให้กับพนักงานเมื่อลาออกจากงานหรือเกษียณอายุ 2. ส่งเสริมการออมทรัพย์ 3. ส่งเสริมการระดมเงินออมเพื่อพัฒนาประเทศ 3

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพประกอบด้วยอะไรบ้าง? 4

ประโยชน์จากการเป็นสมาชิกกองทุน ประโยชน์สำหรับสมาชิก ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี 3 ชั้น E1 E2 E3 สมาชิกใช้เป็นค่าลดหย่อนภาษีได้สูงสุดถึงปีละ 50,0000 บาท เงินสะสมในแต่ละปี ผลประโยชน์จากการลงทุนในกองทุน ได้รับข้อยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี เงินที่สมาชิกได้รับจากกองทุนเมื่อเกษียณ ทุพพลภาพ เสียชีวิต ไม่ต้องเสียภาษีได้รับเงินเต็มจำนวน * เป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี และมีอายุไม่ต่ำกว่า 55 ปีบริบูรณ์ 5

สิทธิประโยชน์ทางภาษี E1 สมาชิกใช้เป็นค่าลดหย่อนภาษีได้สูงสุดถึงปีละ 50,0000 บาท เงินสะสมในแต่ละปี 6

สิทธิประโยชน์ทางภาษี (ต่อ) E2 E3 ผลประโยชน์จากการลงทุนในกองทุน ได้รับข้อยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี เงินที่สมาชิกได้รับจากกองทุนเมื่อเกษียณ ทุพพลภาพ เสียชีวิต ไม่ต้องเสียภาษีได้รับเงินเต็มจำนวน - เงินที่สมาชิกได้รับจากกองทุนจะได้สิทธิลดหย่อนภาษี หรือ ยกเว้นภาษี หรือไม่ อย่างไร ดังตัวอย่างใน 3 กรณีต่อไปนี้ 7

สิทธิประโยชน์ทางภาษี (ต่อ) 8

สิทธิประโยชน์ทางภาษี (ต่อ) 9

สิทธิประโยชน์ทางภาษี (ต่อ) หมายเหตุ* : เกษียณอายุ หมายถึง ครบอายุเกษียณตามข้อบังคับการทำงานของนายจ้าง โดยที่ 1. เป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี 2. มีอายุไม่ต่ำกว่า 55 ปีบริบูรณ์ทั้งนี้ ไม่ว่าจะรับเงินทั้งหมดครั้งเดียว หรือทยอยรับเป็นงวด 10

ทางเลือกการลงทุน (Investment Guideline) ความเสี่ยง น้อย มาก 11

ข้อบังคับกองทุนที่ควรทราบ คุณสมบัติของการเป็นสมาชิกกองทุน ผู้ที่จะเป็นสมาชิกกองทุนได้นั้นจะต้องเป็นลูกจ้างที่พ้นระยะทดลองงานแล้ว เงินสะสมของสมาชิก สมาชิกต้องจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุน ทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้าง โดยให้นายจ้างหักจากค่าจ้างของสมาชิกมีรายละเอียดดังนี้ จำนวนปีที่ทำงาน อัตราเงินสะสม (ร้อยละ) น้อยกว่า 3 ปี 3% ครบ 3 ปี แต่น้อยกว่า 5 ปี 3% หรือ 4% ครบ 5 ปี แต่น้อยกว่า 8 ปี 3% หรือ 4% หรือ 5% ครบ 8 ปีขึ้นไป 3% หรือ 4% หรือ 5% หรือ 6% หรือ 7% ทั้งนี้ การเลือกอัตราจ่ายเงินสะสมของสมาชิกให้กระทำได้ปีละครั้ง และเฉพาะในเดือนธันวาคมของทุกปี โดยทำเป็นหนังสือแจ้งให้คณะกรรมการกองทุนทราบ ซึ่งจะมีผลบังคับในเดือนถัดไป เงินสมทบของนายจ้าง นายจ้างจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนในอัตราเดียวกับอัตราเงินสะสมของสมาชิก 12

เงินสมทบพร้อมทั้งส่วนเฉลี่ย ผลประโยชน์สุทธิ (ร้อยละ) ข้อบังคับกองทุนที่ควรทราบ (ต่อ) การจ่ายเงินสมทบของนายจ้าง เว้นแต่จะมีการระบุไว้เป็นอย่างอื่นในข้อบังคับกองทุนนี้ เมื่อสมาชิกคนใดสิ้นสุดสมาชิกภาพ สมาชิกจะได้รับเงินสมทบของนายจ้าง รวมทั้งส่วนเฉลี่ยผลประโยชน์สุทธิตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ จำนวนปีที่ทำงาน เงินสมทบพร้อมทั้งส่วนเฉลี่ย ผลประโยชน์สุทธิ (ร้อยละ) น้อยกว่า 1 ปี 0% ครบ 1 ปี แต่น้อยกว่า 3 ปี 25% ครบ 3 ปี แต่น้อยกว่า 5 ปี 50% ครบ 5 ปี แต่น้อยกว่า 8 ปี 75% ครบ 8 ปี ขึ้นไป 100% 13

เงินสมทบพร้อมทั้งส่วนเฉลี่ย ผลประโยชน์สุทธิ (ร้อยละ) ข้อบังคับกองทุนที่ควรทราบ (ต่อ) การจ่ายเงินสมทบของนายจ้าง (ต่อ) ในกรณีที่สมาชิกลาออกจากกองทุนโดยมิได้ลาออกจากกงาน และกลับเข้ามาเป็นสมาชิกอีกในภายหลัง สมาชิกจะได้รับเงินสมทบของนายจ้าง รวมทั้งส่วนเฉลี่ยผลประโยชน์สุทธิตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ จำนวนปีที่ทำงาน เงินสมทบพร้อมทั้งส่วนเฉลี่ย ผลประโยชน์สุทธิ (ร้อยละ) น้อยกว่า 1 ปี 0% ครบ 1 ปี แต่น้อยกว่า 3 ปี 25% ครบ 3 ปี แต่น้อยกว่า 5 ปี 50% ครบ 5 ปี แต่น้อยกว่า 8 ปี 75% ครบ 8 ปี ขึ้นไป 100% 14

เงินสมทบพร้อมทั้งส่วนเฉลี่ย ผลประโยชน์สุทธิ (ร้อยละ) ข้อบังคับกองทุนที่ควรทราบ (ต่อ) การจ่ายเงินสมทบของนายจ้าง (ต่อ) ในกรณีที่สมาชิกภาพของสมาชิกรายใดสิ้นสุดเพราะเหตุครบเกษียณอายุการทำงานกับนายจ้างแต่บุคคลนั้นยังคงเป็นลูกจ้างต่อไปหลังครบเกษียณอายุและได้กลับเข้ามาเป็นสมาชิกอีกในทันทีที่สิ้นสุดสมาชิกภาพดังกล่าว สมาชิกจะได้รับเงินสมทบของนายจ้าง รวมทั้งส่วนเฉลี่ยผลประโยชน์สุทธิตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ จำนวนปีที่ทำงาน เงินสมทบพร้อมทั้งส่วนเฉลี่ย ผลประโยชน์สุทธิ (ร้อยละ) น้อยกว่า 1 ปี 0% ครบ 1 ปี แต่น้อยกว่า 3 ปี 25% ครบ 3 ปี แต่น้อยกว่า 5 ปี 50% ครบ 5 ปี แต่น้อยกว่า 8 ปี 75% ครบ 8 ปี ขึ้นไป 100% “จำนวนปีที่ทำงาน” ตามที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ หมายความถึง จำนวนปีที่ทำงานของลูกจ้างนั้นติดต่อกันทั้งก่อนและหลังครบเกษียณอายุการทำงาน 15

ข้อบังคับกองทุนที่ควรทราบ (ต่อ) การจ่ายเงินสมทบของนายจ้าง (ต่อ) สมาชิกจะได้รับเงินสมทบของนายจ้าง รวมทั้งส่วนเฉลี่ยผลประโยชน์สุทธิเต็มจำนวน หากสมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพเนื่องจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้ - ทุพพลภาพ หรือวิกลจริต ซึ่งได้รับเป็นหนังสือจากแพทย์ที่นายจ้างเลือก - ครบเกษียณอายุการทำงานกับนายจ้าง โดยจะต้องเป็นการสิ้นสุดสมาชิกภาพครั้งแรกเท่านั้น - เสียชีวิต การจ่ายเงินสมทบของนายจ้างรวมทั้งผลประโยชน์ของเงินสมทบ ถ้าเป็นการจ่ายเงินในกรณีที่สมาชิกได้รับเงินไม่เต็มร้อยละ 100 แล้ว ส่วนที่เหลือจากการจ่ายให้สมาชิกกองทุนให้ตกเป็นของกองทุน เพื่อเฉลี่ยให้แก่สมาชิกทุกคนที่ยังคงสมาชิกภาพอยู่ในกองทุนเฉพาะส่วนของนายจ้างเดียวกับผู้สิ้นสุดสมาชิกภาพนั้น โดยจะทำการจัดสรรตามส่วนได้เสียของสมาชิกแต่ละราย ซึ่งจะแสดงไว้ในส่วนของผลประโยชน์ของเงินสมทบของสมาชิกรายเช่นว่านั้น 16

ข้อบังคับกองทุนที่ควรทราบ (ต่อ) การคงเงินไว้ในกองทุนภายหลังจากการสิ้นสุดสมาชิกภาพ ในกรณีที่สมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพเพราะออกจากงานไม่ว่าด้วยเหตุใด สมาชิกสามารถคงเงินทั้งหมดที่สมาชิกมีสิทธิได้รับไว้ในกองทุนได้โดยไม่จำกัดระยะเวลา นับแต่วันสิ้นสุดการทำงานกับนายจ้าง โดยยังคงเป็นสมาชิกของกองทุนในระยะเวลาที่คงเงินดังกล่าวไว้ โดยที่สมาชิกที่ขอคงเงินไว้ในกองทุนนั้นจะต้องเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ตามอัตราและภายในระยะเวลาที่บริษัทจัดการกำหนด รวมทั้งสมาชิกผู้นั้นและนายจ้างไม่ต้องจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบเข้ากองทุน ทั้งนี้ คณะกรรมการกองทุนจะต้องแจ้งข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ ของสมาชิกพร้อมกับการแจ้งสิ้นสุดสมาชิกภาพแก่บริษัทจัดการให้ถูกต้องครบถ้วนและสมบูรณ์ตามแบบที่บริษัทจัดการกำหนด 17

ข้อบังคับกองทุนที่ควรทราบ (ต่อ) การคงเงินไว้ในกองทุนภายหลังจากการสิ้นสุดสมาชิกภาพ อย่างไรก็ดี หากนายจ้างของสมาชิกที่คงเงินไว้ในกองทุนนั้น ถอนตัวออกจากกองทุนหรือกองทุนเลิก โดยที่มิได้โอนย้ายไปยังกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอื่นใด ให้บริษัทจัดการนำเงินตามที่สมาชิกผู้นั้นมีสิทธิได้รับเข้าบัญชีของสมาชิกตามที่เคยแจ้งความประสงค์ไว้ หรือดำเนินการใด ๆ ตามที่ได้ตกลงไว้กับบริษัทจัดการในหนังสือแจ้งความประสงค์ขอคงเงิน โดยสมาชิกจะต้องเป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียมการจ่ายเงินดังกล่าว นอกจากนี้ หากนายจ้างของสมาชิกที่คงเงินไว้ในกองทุนนั้น ถอนตัวออกจากกองทุนหรือกองทุนเลิก โดยมีการโอนย้ายไปยังกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอื่นใด ให้บริษัทจัดการส่งมอบเงินตามที่สมาชิกผู้นั้นมีสิทธิได้รับไปยังกองทุนใหม่ด้วย 18

Thank you