กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย การประเมินผลหน่วยงาน ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ รอบ 6 เดือนหลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย พฤษภาคม 2559
ในการปฏิบัติราชการ ตามคำสั่ง คสช. ที่ 5/2559 วัตถุประสงค์ของการประชุม วาระที่ 1 ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ มติที่ประชุมกรม การประเมินผลการปฏิบัติงานหน่วยงาน รอบ 6 เดือนหลัง ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ตามคำสั่ง คสช. ที่ 5/2559 1 วัตถุประสงค์ของการประชุม เพื่อชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน รอบ 6 เดือนหลัง ปี 2559 วันที่ 26 พฤษภาคม 2559 สายวิชาการ วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 สายสนับสนุน วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 ศอ.1-13
1 2 1 2 3 วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา การประเมินผลตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ตามคำสั่ง คสช. ที่ 5/2559 1 กรอบการประเมินผลหน่วยงาน ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ รอบ 6 เดือนหลัง 2 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา พิจารณาความเหมาะสมของ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 1 Time Line การจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดฯ เพื่อเสนอที่ประชุมกรมอนามัย 2 Time Line ระบบการรายงาน และการประเมินผลของหน่วยงานและเจ้าภาพตัวชี้วัด 3
การสื่อสารเพื่อการพัฒนาองค์กรและขับเคลื่อนงานของกรมอนามัย
จัดทัพ ปรับยุทธศาสตร์ เสริมศักยภาพภายใน
ชุดโครงการวิจัยขนาดใหญ่ 3. National Policy & strategy 2. E-distribution 5. Job Rotation Job Assignment 4. ชุดโครงการวิจัยขนาดใหญ่ 1. 100 ตำบล
กระบวนงานหลักกรมอนามัย (Core Business Process)
กระบวนงานหลักกรมอนามัย (Core Business Process)
(Function + Agenda + Area) จัดกระบวนทัพและขับเคลื่อนงานเพื่ออภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Function + Agenda + Area) ทีม Cluster ทีมจังหวัด ศูนย์เขต รพ. สส. สวล. ยุทธ์ KM บริหาร กอง สำนัก Agenda based Area based NHA HP ENV ปรับกระบวนการภายในและกลไกการสนับสนุน เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน (Innovation + Potential)
1. การประเมินส่วนราชการ วาระเพื่อ ทราบ การประเมินผลตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ตามคำสั่ง คสช. ที่ 5/2559 1 1. การประเมินส่วนราชการ 2. การประเมินข้าราชการ Functional Based Functional Based Agenda Based Agenda Based Area Based Area Based Innovation Based Competency Based Potential Based Potential Based
การประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานและศักยภาพของส่วนราชการ 5 องค์ประกอบ (องค์ประกอบละ 100 คะแนน) ระดับกรม 1. Functional Based งานภารกิจพื้นฐาน งานประจำ งานตามภารกิจพื้นที่ หรือการบูรณาการ 2. Agenda Based 3. Area Based งานยุทธศาสตร์ งานนโยบาย 4. Innovation Based 5. Potential Based ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงาน งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ ศักยภาพ ในการเป็นส่วนราชการ ที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ นโยบายของรัฐบาล ประกอบกับผลการประเมิน โดย องค์กรภายในและภายนอกประเทศ
1.Function (มิติภายนอก) 2.63 4. Innovation (มิติภายใน ) 2.80 รายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการฯ ม.44 จาก PA กรมอนามัย ปี 2559 1.Function (มิติภายนอก) 2.63 4. Innovation (มิติภายใน ) 2.80 การประเมินประสิทธิผล 1.การบรรลุยุทธศาสตร์ประเทศ/กระทรวง/กรม 1.1 ตชว.ตามแผนยุทธศาสตร์ กท.สธ.และนโยบายสำคัญ 1.1.1 อัตราการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน (5) 1.1.2 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (5) 1.1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน (2.5) 1.1.4 ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (2.5) 1.1.5 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15–19 ปี (9) 1.2 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอดที่มีประสิทธิภาพ (9) 1.3 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโต และพัฒนาการเด็ก (9) 1.4 ร้อยละของตำบล Long Term Care (10) 1.5 ร้อยละของ รพ.สังกัด กท.สธ.มีการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อตามกฎหมาย (9) 1.6 ร้อยละของ รพ.สังกัด สป. ผ่านเกณฑ์ YFHS (9) 1.7 ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. ที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก ที่มีคุณภาพ (9) การประเมินประสิทธิภาพ 1. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่าย งบประมาณ:ภาพรวม/ลงทุน 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลง (วิสัยทัศน์/บทบาท/กระบวนงาน/ แผนยุทธศาสตร์/Action ฯลฯ) 3. คุณธรรมและความโปร่งใสการ ดำเนินงานของกรมอนามัย 5. Potential 3.00 1. การควบคุมการขาดสารไอโอดดีน 2. Agenda (ระดับชาติ) 3. Area (ถ่ายมาจาก 2)
2 วาระเพื่อ ทราบ กรอบการประเมินผลหน่วยงาน ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ รอบ 6 เดือนหลัง ปี 2559 วาระเพื่อ ทราบ ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผล ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ 1.1 – 1.9 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา 100 ตำบลต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (ศอ.1-13) 1. Functional Based กพร./ หน่วยวิชาการ 2. Agenda Based 3. Area Based สำนัก ส. ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานบริหารการเปลี่ยนแปลงที่เป็น Best Practice Product ที่ผ่านการรับรองจากกรม และมีการนำไปใช้ในพื้นที่(สำนัก/กองวิชาการ) 4. Innovation Based 5. Potential Based กพร. สจร. ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ & พัฒนาองค์การ 1.การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2.การประหยัดพลังงาน 3.การพัฒนาเว็บไซต์ 4.การพัฒนาบุคลากรรายบุคคล(IDP) 5.คุณธรรมและความโปร่งใส (HEALTH) ผลงานที่มีความโดดเด่น สำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/ นานาชาติ (หน่วยวิชาการ) ผลงานที่มีความโดดเด่น ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่ (ศอ.1-13 ศพส.กทป.) กอง ค. /สลก. / กอง ผ. / กอง จ.
1 วาระเพื่อ พิจารณา พิจารณาความเหมาะสมของ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน แบบรายงานการประเมินหน่วยงาน ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 Functional Based ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม/ ภารกิจหลักด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.1 ................... - ตัวชี้วัดที่ 1.9 ................... น้ำหนักองค์ประกอบที่ 1 100
องค์ประกอบ การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 Functional Based ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม/ ภารกิจหลักด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.2 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอดที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1.3 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี
องค์ประกอบ การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) กลุ่มวัยเรียน องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 Functional Based ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม/ ภารกิจหลักด้านประสิทธิผล 15.00 13.75 12.5 11.25 10 ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนแลอ้วน ตัวชี้วัดที่ 1.6 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณาการ ตัวชี้วัด ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน
กลุ่มผู้สูงอายุ ทันตสุขภาพ องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 Functional Based ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม/ ภารกิจหลักด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.4 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ทันตสุขภาพ องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 Functional Based ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม/ ภารกิจหลักด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.7 ร้อยละของรพ.สต./ศสม. ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ 5 กลุ่มเป้าหมาย
องค์ประกอบ การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) กลุ่มอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 Functional Based ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม/ ภารกิจหลักด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.5 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ตัวชี้วัดที่ 1.8 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อให้จังหวัดในเขตรับผิดชอบมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
องค์ประกอบ การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) สถานการณ์สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 Functional Based ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม/ ภารกิจหลักด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.9 ระดับความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลที่จำเป็นเพื่อกำหนดข้อเสนอ/มาตรการกำกับ ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน น้ำหนักองค์ประกอบที่ 2 100 องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 2. Agenda Based 1.ระดับความสำเร็จในการดำเนินงาน บริหารการเปลี่ยนแปลงที่เป็น Best Practice (1-3 ประเด็น) ประเมินผลตามเอกสารแนบ น้ำหนักองค์ประกอบที่ 2 100
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับองค์ประกอบของ Best Practice 5 องค์ประกอบ น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับองค์ประกอบของ Best Practice 5 องค์ประกอบ คะแนนที่ได้ คะแนนถ่วงน้ำหนัก 1 2 3 4 5 1 …… 0.34 องค์ประ กอบที่ 1 องค์ ประกอบที่ 1-2 ประกอบที่ 1-3 ประกอบที่ 1-4 ประกอบที่ 1-5 2 …… 0.33 3 …… รวม Best Practice ประกอบด้วย 1. มีข้อมูลสภาพปัญหาและสภาพการปฏิบัติงานเดิม 2. มีกระบวนการปฏิบัติงานใหม่ (ขั้นตอนการดำเนินงาน กลยุทธ์/ทรัพยากรที่ใช้ ลูกค้า/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การพัฒนาศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้อง) 3. มีผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งตาม 6 cluster และ 3 ประเด็นหลักของการบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย (6 cluster ได้แก่ สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม และ 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ Finance HR และ KM+IT+Surveillance) 4. ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มีการประเมินความพึงพอใจ) 5. สรุปบทเรียน ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขปัญหา ปัจจัยความสำเร็จ การสร้างความยั่งยืนการขยายผล
องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 3. Area Based 1.ระดับความสำเร็จของการพัฒนา 100 ตำบลต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (เฉพาะศูนย์อนามัยที่ 1-13) รายละเอียดตามเอกสารแนบ 2. Product ที่ผ่านการรับรองจากกรมอนามัย และมีการนำไปใช้ในพื้นที่ (หน่วยงานวิชาการ ศพส. กทป.) รายละเอียดตามเอกสารแนบ น้ำหนักองค์ประกอบที่ 3 100 4. Innovation Based ตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพ &พัฒนาองค์การ 1. เบิกจ่ายงบประมาณ - รายจ่ายภาพรวม 94 95 96 97 98 20 - รายจ่ายลงทุน 75 78 81 84 87 10 2. การประหยัดพลังงาน - ไฟฟ้า 0.5 1.5 2.5 - น้ำมัน 3. คุณธรรมและความโปร่งใส 20 4. การพัฒนาบุคลากรรายบุคคล 15 5. การพัฒนาเว็บไซต์ น้ำหนักองค์ประกอบที่ 4
100 ตำบลต้นแบบ 1 มีทีมทำงานแบบบูรณาการทุกภาคส่วน ขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน คำอธิบาย 1 มีทีมทำงานแบบบูรณาการทุกภาคส่วน - มีคำสั่งแต่งตั้งทีมทำงานที่มาจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (0.2 คะแนน) มีการประชุมบูรณาการทีมงานเพื่อกำหนดแนวทาง บทบาท หน้าที่การดำเนินงาน (0.3 คะแนน) 2 การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรในการดำเนินงานพัฒนาตำบลต้นแบบบูรณาด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม - มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ภาคีเครือข่ายด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาเรื่องค่ากลาง เป็นต้น (0.3 คะแนน) รายงานสรุปผลการพัฒนาบุคลากร (0.2 คะแนน) 3 การให้ความสำคัญกับภาคประชาชนภาคประชาคม ประชาสังคม ชุมชน หรือชมรมเข้ามามีส่วนร่วม -มีช่องทางรับข้อมูล ปัญหาของพื้นที่จากภาคประชาชน หรือจากชุมชน (0.5 คะแนน) - มีการประชาสัมพันธ์และสื่อสารข้อมูลให้กับภาคประชาชน หรือชุมชนโดยผ่าน ผู้นำชุมชน/อสม. (0.5 คะแนน)
ขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน คำอธิบาย 4 การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน แกนนำหรือผู้นำชุมชน, ภาครัฐ ภาคเอกชน หรือเครือข่ายอื่นๆ เข้ามามีส่วนในกิจกรรม - ชุมชนและเครือข่ายมี ส่วนร่วมในการวางแผน ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม (0.2 คะแนน) - ชุมชนและเครือข่ายดำเนินกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม (0.5 คะแนน) - ชุมชนมีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน และ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดำเนินงาน (0.3 คะแนน) 5 การส่งเสริมการเกิดคุณค่า ให้กับชุมชน (การพัฒนาต้นแบบ และ การเยี่ยมเสริมพลัง) - มีการตรวจเยี่ยมเสริมพลัง ให้กับพื้นที่ - มีการยกย่องชื่นชม ให้รางวัล เกียรติบัตร ตำบลต้นแบบด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม (0.3 คะแนน) 6 มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และการสื่อสาร - มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และปรับปรุงกระบวนการให้เหมาะสม กับพื้นที่ (0.5 คะแนน) 7 มี Best practice ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 ของตำบลเป้าหมาย มี Best practice ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 1 เรื่อง (1.0 คะแนน)
Product ปัญหา สถานการณ์ E-distributer Product Area Cluster Select Need/Want การประเมินผล E-distributer Product Function Area Cluster 6 Clusters +3 System Select
องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน องค์ประกอบ การประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน (เป้าหมาย) น้ำหนัก 1 2 3 4 5 5. Potential Based ผลงานที่มีความโดดเด่น มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/นานาชาติ หรือนโยบายสำคัญของรัฐบาล (เฉพาะหน่วยงานวิชาการ ) รายละเอียดตามเอกสารแนบ 2. ผลงานที่มีความโดดเด่น ด้าน การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่ (เขต/จังหวัด/ท้องถิ่น (เฉพาะศูนย์อนามัยที่ 1-13 ศพส. กทป.) รายละเอียดตามเอกสารแนบ น้ำหนักองค์ประกอบที่ 5 100
การประเมินผล 1. ผลการดำเนินงานในแต่ละประเด็นการประเมิน องค์ประกอบที่ 1 และ 4 พิจารณาจาก 1) ต่ำกว่าเป้าหมาย หมายถึง ผลงานได้คะแนน 1.0000 – 1.9999 2) เป็นไปตามเป้าหมาย หมายถึง ผลงานได้คะแนน 2.0000 – 3.9999 3) สูงกว่าเป้าหมาย หมายถึง ผลงานได้คะแนน 4.0000 – 5.0000 องค์ประกอบที่ 2 3 และ 5 พิจารณาจากรายละเอียดตามเอกสารแนบบ 2. แต่ละองค์ประกอบการประเมิน มีน้ำหนัก 100 3. ผลการดำเนินงานในแต่ละองค์ประกอบการประเมิน พิจารณาจาก คะแนนถ่วงน้ำหนักของประเด็นการประเมิน (คะแนนเต็ม 3 คะแนน) 1) ต่ำกว่าเป้าหมาย หากมีค่าคะแนน อยู่ระหว่าง 1.0000 – 1.4999 2) เป็นไปตามเป้าหมาย หากมีค่าคะแนน อยู่ระหว่าง 1.5000 – 2.4999 3) สูงกว่าเป้าหมาย หากมีค่าคะแนน อยู่ระหว่าง 2.5000 – 3.0000
2 วาระเพื่อ พิจารณา Time Line การจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดฯ เพื่อเสนอที่ประชุมกรมอนามัย 2 กพร.จัดทำคู่มือรายละเอียดตัวชี้วัด ส่งให้หน่วยงาน สายวิชาการ 26 พ.ค. 59 เจ้าภาพทบทวน Function Innovation ส่งให้ กพร. 6 มิ.ย. 59 เสนออธิบดี/รองอธิบดี เสนอที่ประชุมกรม 14 มิ.ย.59 สายสนับสนุน 27 พ.ค. 59 หน่วยงานทบทวน Function ศอ.1-13 30 พ.ค. 59 หน่วยงานวิชาการ/ศอ. กำหนดงาน/ผลงานที่จะตอบมิติ -Agenda -Area -Potential ส่ง กพร. 10 มิ.ย.59
วาระเพื่อ พิจารณา Time Line ระบบการรายงาน และการประเมินผลของหน่วยงานและเจ้าภาพตัวชี้วัด 3 เจ้าภาพตัวชี้วัด Update ผลงาน 6 เดือน ส่งข้อมูลให้ กพร. 8 ก.ค. 59 กพร. เสนอ รายงานให้อธิบดี 15 ก.ค. 59 กรม รายงานคำรับรองฯ รอบ 9 เดือน ในระบบ e-SAR 31 ก.ค. 59 ผลงาน 9 เดือน เจ้าภาพ PA อธิบดี (KPI 1+ งบประมาณ) ส่งไฟล์ข้อมูลให้ กพร. 8 ส.ค.59 กพร. เสนอ รายงานให้อธิบดี กรม ส่งผลงานอธิบดี ให้สำนักงาน ก.พ.ร. 19 ส.ค. 59 ประเมินผู้บริหาร หน่วยงานรายงาน5 องค์ประกอบ ในระบบ DOC 31 ส.ค.59 กพร. ทำรายงานผลคะแนนเสนอที่ประชุมกรม 13 ก.ย.59 เจ้าภาพตัวชี้วัด ประเมินให้คะแนน ส่ง กพร. 8 ก.ย.59 อธิบดีนำผลไปใช้ On top Intensive ผลงาน 12เดือน เจ้าภาพตัวชี้วัดกรม Update ผลงาน 12 เดือน ส่งไฟล์ ให้ กพร. 30 ก.ย.59 กพร. ทำรายงานผลคะแนนเสนออธิบดี รายงานคำรับรองฯ กรมอนามัย 12 เดือน ในระบบ e-SAR 31 ต.ค.59