HIA : HLO นำเสนอโดย กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
Monitoring and Encouragement Quality Improvement Methods ACT Self Assessment PLAN Analysis Monitoring and Encouragement Deming Cycle CHECK Implementation Planning DO
แบบประเมินตนเององค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ 10 ข้อ 45 ข้อ นโยบาย พันธกิจ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการขององค์กรที่ให้ความสำคัญกับการรอบรู้ฯ มีการวางแผน ประเมินผล กำกับติดตาม และพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาบุคลากรเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ข้อมูลสุขภาพมีความหลากหลาย ถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ รูปแบบ ช่องทาง วิธีการ ต้องเอื้อต่อการเข้าถึงของผู้รับบริการ ผู้นำองค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย HLO การบริหารจัดการ (คน เงิน) การพัฒนาบุคลากร การสร้างวัฒนธรรมองค์กร การออกแบบระบบบริการ บุคลากรผู้ให้บริการ การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการให้บริการข้อมูล การสื่อสาร วัฒนธรรม สภาพแวดล้อมภายในองค์กร สื่อต่างๆ ที่ใช้ในการให้ข้อมูล สัญญลักษณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกในการให้ข้อมูลแก่ผู้รับบริการ ที่มา: รศ. ดร. ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์
ผลการประเมินคุณลักษณะองค์กรเพื่อการเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ 45 ข้อ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ควรใช้สีและแบบตัวอักษรที่ง่ายต่อการอ่าน 2. สื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับ เอกสาร ควรออกแบบที่สามารถอ่านแบบผ่านๆ ได้ และเข้าใจ 3. แต่ละหัวข้อในสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับ เอกสาร ควรแสดงถึงเรื่องราวที่อยู่ในหัวข้อนั้นๆ 4. สื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับ เอกสาร ควรมีการใช้ภาษาที่ผู้มีการศึกษาต่ำกว่าประถม สามารถอ่านออกและเข้าใจได้ 5. ข้อมูลที่ให้ผู้รับบริการในสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับ เอกสาร มีการใช้ภาษาทางการแพทย์ ควรต้องยกตัวอย่างประกอบ 6. ข้อมูลที่ผู้รับบริการในสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับ เอกสารเป็นคำหรือประโยชน์ที่สั้น ง่าย ได้ 7. หน่วยงานของท่านควรมีป้ายชื่อหน่วยบริการเป็นภาษาไทยหรือไม่ 8. หน่วยงานของท่าน ควรมีป้ายชื่อองค์กรที่อยู่ภายนอกที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนหรือไม่ 9. หน่วยงานของท่าน ควรให้ข้อมูลสุขภาพแก่ผู้รับบริการด้วยคำง่ายๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ที่บุคคลทั่วไปเข้าใจได้ โดยไม่ใช้ศัพท์เฉพาะวิชาชีพหรือไม่
ข้อเสนอแนะจากการประเมินองค์กร ให้มีคณะทำงานเพื่อกลไกในการขับเคลื่อนเพื่อไปสู่ความสำเร็จ ควรกำหนดนิยามและคุณลักษณะขององค์กรแห่งความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกันว่า ตอนนี้องค์กรของเราอยู่จุดไหนและต้องทำยังไงให้ไปถึงคุณลักษณะที่ต้องการ กำหนดเป้าหมาย แผนระยะสั้น และระยะยาว มีกิจกรรมที่หลากหลายที่ให้บุคลากรในกองสามารถเข้าถึงความรอบรู้ด้านสุขภาพ ควรมี key message ของหน่วยงานที่เป็นสัญลักษณ์แสดงความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่เข้าใจง่ายและชัดเจน บทบาทภารกิจกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพยังไม่ชัดเจน ต้องหาจุดสำคัญ (KEY MASSAGE) ที่องค์กรต้องทำที่องค์กรอื่นไม่มี แล้ววิเคราะห์องค์กรใหม่ ปรับบทบาทใหม่ จัดโครงสร้างองค์กร แล้วหาขอบเขตความรอบรู้สุขภาพในภารกิจงาน อยากให้องค์กรทำความเข้าใจในงาน และรูปแบบที่จะให้บริการประชาชน เพื่อการเป็นองค์กรที่รอบรู้ด้านสุขภาพ ความยากง่ายในการสื่อสารควรขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย
กลยุทธ์การดำเนินงานเป็นองค์กร HLO KPI1 Policy นโยบายมุ่งมั่น ให้ความสำคัญการรอบรู้ด้านสุขภาพ KPI2 KPI3 KPI1 Personnel บุคลากรรอบรู้ด้านสุขภาพ KPI2 KPI3 KPI1 Process กระบวนการสนับสนุน ต่อเนื่อง KPI2 KPI3 KPI1 Public ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง KPI2 KPI3 ระบบสารสนเทศ การวิจัยและพัฒนา กระบวนการเรียนรู้
แนวทางการดำเนินงาน HLO กอง HIA : 2561 กลยุทธ์ KPI กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ Policy นโยบายมุ่งมั่น ให้ความสำคัญการรอบรู้ด้านสุขภาพ ร้อยละ 100 ของบุคลากรรับทราบนโยบาย HLO และมีส่วนร่วม มีแผนปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อน HLO ปี 2561 สื่อสารนโยบายผ่านการประชุมหน่วยงานประจำเดือน ติดตาม ประเมินผล และเสริมพลัง จัดทำแผนปฏิบัติการ HLO ปี 2561 พส./คกก. Personal บุคลากรมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มี Safety Plan ของบุคลากรในองค์กร มีแนวทางลักษณะที่พึงประสงค์ของบุคลากรรอบรู้ด้านสุขภาพ จัดทำแผน Safety Plan ของบุคลากรในองค์กร จัดทำแนวทางการพัฒนาลักษณะที่พึงประสงค์ของบุคลากรรอบรู้ด้านสุขภาพ ทุกกลุ่ม Process กระบวนการสนับสนุน ต่อเนื่อง มีแนวทางการสร้างชุมชน HLO ใช้แนวทาง/มาตรฐานการจัดทำสื่อในระบบการจัดทำสื่อของกองฯ มี Key Message ข้อมูล ความรู้ และทักษะพื้นฐานด้านสุขภาพตามประเด็นเสี่ยง พัฒนาแนวทางการสร้างชุมชน HLO จัดทำแนวทาง/มาตรฐานการจัดทำสื่อในระบบการจัดทำสื่อของกอง มีกระบวนการและดำเนินการจัดทำ Key Message ตามประเด็นเสี่ยงด้านสุขภาพ พส. พร. ฝว. Public ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง มีระบบสารสนเทศผู้รับบริการ 1. วิเคราะห์ผู้รับบริการ และสารสนเทศที่จำเป็นสำหรับการสื่อสาร พส.
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน HLO จัดทำคู่มือและแบบประเมินมาตรฐานสื่อของหน่วยงาน โดยประยุกต์ใช้ PEMAT (Patient Education Materials Assessment Tools) จาก U.S. Department of Health and Human Services เน้น Understandability และ Actionability ธ.ค. 60. - มี.ค. 61 การประเมินความรอบรู้ 66 Key messages ของบุคลากร เพื่อวางแผนการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และปรับสภาพแวดล้อมให้เป็น Health literacy-friendly setting ม.ค. 61 จัดทำกรอบสมรรถนะบุคลากร (K-S-A) เพื่อประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ เช่น การสื่อสาร การวิเคราะห์ ความเข้าใจผู้อื่น ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม ฯลฯ ธ.ค. 60 – เม.ย. 61 พัฒนารูปแบบชุมชนความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในพื้นที่จังหวัดลำพูน ประเด็นการป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชนจากภาวะหมอกควัน ม.ค. – มี.ค. 61