Performance Agreement

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Performance Agreement กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดย นายแพทย์เจษฎา โชคดำรงสุข อธิบดีกรมควบคุมโรค  28 ต.ค. 2559

Performance Agreement : PA กรมควบคุมโรค ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร 6 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) ร้อยละ 80 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 5. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน *Proxy Kpi : จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินงานผ่าน DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5% * ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร 6. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25

Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560 ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 80 ของจังหวัดทั้งหมด 77 จังหวัด มาตรการ : 1. ประเมินความพร้อมและจัดเตรียมทรัพยากร ของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด พัฒนาทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด ซ้อมแผนตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับจังหวัด พัฒนาแนวทางดำเนินการและแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ให้หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัด จัดทำโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข และจัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ ร้อยละ 80 ของจังหวัด จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์รองรับการเปิดศูนย์ EOC และทีม SAT ได้รับการอบรมขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 80 ของจังหวัด มีการซ้อมแผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และทีม SAT เริ่มประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพพื้นที่จังหวัด ร้อยละ 80 ของจังหวัด มี Incident Action Plan ของเหตุการณ์สำคัญโดยกำหนดวิธีปฏิบัติการพร้อมข้อสั่งการไปยังหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ 1: ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 1: ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริงเป้าหมายร้อยละ 80 ตัวชี้วัดนี้เป็นการขับเคลื่อนให้เกิดระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน โดยมีศูนย์ EOC และทีม SAT ที่ดำเนินงานได้จริง โดยประเมินตามมาตรการ และเก็บข้อมูลรายไตรมาส ประกอบด้วย 4 มาตรการ คือ 1. ประเมินความพร้อมและจัดเตรียมทรัพยากร เพื่อพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด 2. พัฒนาบุคลากรรองรับการปฏิบัติงานทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด 3. ซ้อมแผนตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินฯระดับจังหวัด 4. พัฒนาแนวทางและแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ให้หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค ระดับอำเภอ ( SRRT ปัจจุบันมีทุกอำเภอมากกว่า1,030 ทีม) ทุกจังหวัด(เป็นมาตรการที่ดำเนินการตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 อยู่แล้ว แต่เพิ่มเติมเป็นมาตรการในตัวชี้วัดนี้ตามข้อเสนอแนะของท่านปลัดกระทรวงฯ) โดยมีเป้าหมาย ดังนี้ เป้าหมาย 3 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีโครงสร้างรองรับ คือ มีศูนย์ EOC และทีม SAT เป้าหมาย 6 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีสถานที่ อุปกรณ์ และบุคลากรได้รับการอบรมขั้นพื้นฐาน เป้าหมาย 9 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการซ้อมแผนและเริ่มประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ เป้าหมาย 12 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการจัดทำ Incident Action Plan (IAP) ของเหตุการณ์สำคัญ ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ตัวชี้วัดใหม่ ปี 2560 1 2 3 4 5 70 75 80 85 90 การประเมินผล : จากการประเมินการดำเนินงานตามมาตรการ ความถี่การจัดเก็บข้อมูล : รายไตรมาส

Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560 ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 85 กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ทั้งผู้ป่วยไทย ผู้ป่วยไม่ใช่ไทย และผู้ป่วยในเรือนจำ ที่รักษาในโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสธ. มาตรการ : 1. เร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เขตกำหนดอำเภอที่มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคสูงสุดจำนวน 3 อำเภอ/จังหวัด เพื่อคัดกรองเชิงรุก (231 อำเภอ/ 77 จังหวัด) ร้อยละ 50 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่อำเภอเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุก (116 อำเภอ) ร้อยละ 80ของประชากรกลุ่ม เสี่ยงในพื้นที่อำเภอเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุก (185 อำเภอ) ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่อำเภอเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุก (231 อำเภอ) 2. ค้นพบผู้ป่วยร้อยละ 80 ของ ผู้ป่วยวัณโรคที่คาดประมาณ ตามองค์การอนามัยโลก (89,917 คน) ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 กลุ่มเป้าหมาย: ผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ทั้งผู้ป่วยไทย ผู้ป่วยไม่ใช่ไทย และผู้ป่วยในเรือนจำ ที่รักษาในโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข - ความสำเร็จการรักษาวัดจากผู้ป่วยวัณโรคมีผลการรักษาหายจากโรค โดยมีการยืนยันจาก Lab ในเดือนสุดท้ายของการรักษาและรักษาครบตามกำหนด - ประเมินจากโปรแกรม TBCM 2010 โดยวัดอัตราความสำเร็จครบรอบรายงาน เมื่อสิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2560 โดยมี 2 มาตรการ คือ มาตรการที่ 1 เร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย วัดความสำเร็จจาก ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลตรวจทดสอบความไวต่อยา - เป้าหมาย 3 เดือน ร้อยละ 45 - เป้าหมาย 6 เดือน ร้อยละ 55 - เป้าหมาย 9 เดือน ร้อยละ 65 - เป้าหมาย 12 เดือน ร้อยละ 75 มาตรการที่ 2 การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยตามมาตรฐานให้หายและกินยาครบ วัดความสำเร็จจากร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคมีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 3 เดือน - วิเคราะห์สถานการณ์การขาดยาและจัดทำแผนงานรองรับการแก้ปัญหาในระดับพื้นที่ ร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 6 เดือน - ความครอบคลุมของการใช้มาตรการลดอัตราการขาดยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 9 เดือน - การใช้มาตรการลดอัตราการขาดยาครอบคลุมผู้ป่วยทุกราย - ร้อยละ 3 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 12 เดือน - วิเคราะห์และประเมินผลสำเร็จของมาตรการและถ่ายทอด Best practice

Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560 ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ มาตรการ : 2. การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยตามมาตรฐานให้หายและกินยาครบ Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เดือน 1.โรงพยาบาล (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) บันทึกและรายงานข้อมูลผู้ป่วยวัณโรค ร้อยละ 40 ร้อยละ 60 ร้อยละ 80 ร้อยละ 100 2. โรงพยาบาล (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) ได้รับการประเมินมาตรฐาน QTB ในปี 2560 กำหนดโรงพยาบาล (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) เพื่อประเมินมาตรฐาน QTB ในปี 2560 จำนวน 3 โรงพยาบาล/จังหวัด (231 โรงพยาบาล) ร้อยละ 50 ของ รพ. (116 โรงพยาบาล) ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาล (185 โรงพยาบาล) (231 โรงพยาบาล) และผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3. เรือนจำเป้าหมายได้รับการประเมินมาตรฐาน QTBP ในปี 2560 กำหนดเรือนจำเป้าหมายที่การประเมินมาตรฐาน QTBP ในปี 2560 จำนวน 1 เรือนจำ/จังหวัด (77 เรือนจำ) ร้อยละ 40 ของเรือนจำ ( 31 เรือนจำ) ร้อยละ 80 ของเรือนจำ (62 เรือนจำ) (77 เรือนจำ) และผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 กลุ่มเป้าหมาย: ผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ทั้งผู้ป่วยไทย ผู้ป่วยไม่ใช่ไทย และผู้ป่วยในเรือนจำ ที่รักษาในโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข - ความสำเร็จการรักษาวัดจากผู้ป่วยวัณโรคมีผลการรักษาหายจากโรค โดยมีการยืนยันจาก Lab ในเดือนสุดท้ายของการรักษาและรักษาครบตามกำหนด - ประเมินจากโปรแกรม TBCM 2010 โดยวัดอัตราความสำเร็จครบรอบรายงาน เมื่อสิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2560 โดยมี 2 มาตรการ คือ มาตรการที่ 1 เร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย วัดความสำเร็จจาก ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลตรวจทดสอบความไวต่อยา - เป้าหมาย 3 เดือน ร้อยละ 45 - เป้าหมาย 6 เดือน ร้อยละ 55 - เป้าหมาย 9 เดือน ร้อยละ 65 - เป้าหมาย 12 เดือน ร้อยละ 75 มาตรการที่ 2 การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยตามมาตรฐานให้หายและกินยาครบ วัดความสำเร็จจากร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคมีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 3 เดือน - วิเคราะห์สถานการณ์การขาดยาและจัดทำแผนงานรองรับการแก้ปัญหาในระดับพื้นที่ ร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 6 เดือน - ความครอบคลุมของการใช้มาตรการลดอัตราการขาดยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 9 เดือน - การใช้มาตรการลดอัตราการขาดยาครอบคลุมผู้ป่วยทุกราย - ร้อยละ 3 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 12 เดือน - วิเคราะห์และประเมินผลสำเร็จของมาตรการและถ่ายทอด Best practice ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 81.4 80.4 รอผล 1 2 3 4 5 81 82 83 84 85 การประเมินผล : โปรแกรม TBCM2010หรือโปรแกรม TBCM Online ความถี่การจัดเก็บข้อมูล : 1 ครั้ง ในรอบ 12 เดือน หมายเหตุ : โรงพยาบาล : โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน QTB : การประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค QTBP : การประเมินมาตรฐานการป้องกันดูแลรักษาวัณโรคในเรือนจำ หมายเหตุ : โรงพยาบาล : โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน QTB : การประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค QTBP : การประเมินมาตรฐานการป้องกันดูแลรักษาวัณโรคในเรือนจำ

PA กระทรวง:ร้อยละของตำบลในการเฝ้าระวัง คัดกรอง ป้องกัน เพื่อแก้ปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) พื้นที่เป้าหมาย : เป้าหมายคือ ประชาชน 100,000 ราย ในพื้นที่ 27 จังหวัด ที่อยู่ในเขตสุขภาพที่ 1, 6, 7, 8, 9, 10 เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 80 พื้นที่เป้าหมาย 27 จังหวัดเสี่ยงสูง 138 อำเภอ 209 ตำบล ภาคอีสาน 20 จ.ภาคเหนือ 6 จ. ภาคตะวันออก 1 จ. (เขตบริการสุขภาพ 1, 6, 7, 8, 9, 10) คัดกรอง OV ด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไปและรักษาทุกคนที่ติดเชื้อ (เป้าหมาย 80,000 ราย ในพื้นที่ 209 ตำบล) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน จัดการเรียนการสอน OV และ CCA ในพื้นที่ดำเนินการ จัดการสิ่งแวดล้อมสิ่งปฏิกูล เพื่อให้คนปลอดพยาธิ ปลอดภัย อบต./เทศบาลออกข้อกำหนดและมีการบังคับใช้ คัดกรอง CCAในประชาชน 40 ปีขึ้นไปด้วยอัลตร้าซาวด์ (เป้าหมาย 128,000 ราย) การรักษาโดยการผ่าตัด (เป้าหมาย 640 ราย) มีการดูแลแบบประคับประครองทุกราย ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) เป็นตัวชี้วัดจากมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 (26 ธันวาคม พ.ศ.2557) โครงการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีถวายเป็นพระราชกุศลฯ (2559 – 2560) โดยกรมควบคุมโรคดำเนินการ 2 มาตรการ คือ 1. คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป ในตำบลพื้นที่เสี่ยง 2. ประชาชนที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้รับการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของตำบล ที่ดำเนินการในพื้นที่ 27 จังหวัด 138 อำเภอ 209 ตำบล ซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1, 6 – 10 ประเมินผลจากฐานข้อมูล Isan-cohort เก็บข้อมูลรายไตรมาส

Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560 ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) พื้นที่เป้าหมาย : เป้าหมายคือ ประชาชน 100,000 ราย ในพื้นที่ 27 จังหวัด ที่อยู่ในเขตสุขภาพที่ 1, 6, 7, 8, 9, 10 เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 80 มาตรการ : คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป ในตำบลพื้นที่เสี่ยง ประชาชนที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้รับการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ร้อยละ 5 (ของ 209 ตำบล = 11 ตำบล) ร้อยละ 30 (ของ 209 ตำบล = 63 ตำบล) ร้อยละ 55 (ของ 209 ตำบล = 115 ตำบล) ร้อยละ 80 (ของ 209 ตำบล = 168 ตำบล) ข้อมูลพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) เป็นตัวชี้วัดจากมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 (26 ธันวาคม พ.ศ.2557) โครงการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีถวายเป็นพระราชกุศลฯ (2559 – 2560) โดยกรมควบคุมโรคดำเนินการ 2 มาตรการ คือ 1. คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป ในตำบลพื้นที่เสี่ยง 2. ประชาชนที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้รับการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของตำบล ที่ดำเนินการในพื้นที่ 27 จังหวัด 138 อำเภอ 209 ตำบล ซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1, 6 – 10 ประเมินผลจากฐานข้อมูล Isan-cohort เก็บข้อมูลรายไตรมาส เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 - 84 ตำบล (77,510 ราย) 1 2 3 4 5 ≥70 75 80 85 ≤90 การประเมินผล : จากฐานข้อมูล Isan – cohort ความถี่การจัดเก็บข้อมูล : รายไตรมาส

Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560 ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายปี 2560 :  ร้อยละ 80 มาตรการ :1. การค้นหากลุ่มเสี่ยง/การประเมิน ผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนในสถานบริการ ได้รับการประเมิน CVD Risk 2. การจัดการหลังการประเมิน กลุ่มผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) ที่มีระดับความเสี่ยงสูง≥30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน Small Success 3 เดือน 6เดือน 9เดือน 12 เดือน ผู้ป่วย DM , HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 20% ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 40% ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 60% เร่งรัด พัฒนา เขตบริการที่ยังไม่บรรลุผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 80% ผู้ป่วย DM ,HT ที่มีระดับ CVD Risk≥30% เข้าถึงบริการ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน 60% ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงซ้ำ และมีความเสี่ยงลดลง ≥10% ตัวชี้วัดที่ 4: ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 ประเมินผลจากการดำเนินการค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยที่ประเมิน CVD Risk และกลุ่มดังกล่าวสามารถเข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 1 2 3 4 5 70 75 80 85 90 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 - 77.89% การประเมินผล : ข้อมูลจากการรายงานผลการคัดกรองโดย สคร. ประเมินผลลัพธ์ 1 ครั้ง ในรอบ 12 เดือน

การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2560 (กระทรวง) เป้าหมาย : ลดอัตราตายจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน มาตรการบริหารจัดการ SAT/EOC-RTI คุณภาพ TEA Unit คุณภาพ (รพ. A S M1) สสอ./รพช. เป็นเลขา ร่วมใน ศปถ. อำเภอ เขตสุขภาพมีแผนและสนับสนุนงบประมาณ RTI (สธฉ.) มาตรการข้อมูล 4I Integration of Data 3ฐาน IS online รพ. A S M1 Investigation Information นำเสนอ ข้อมูลจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ ไตรมาส (กรม คร.+สธฉ.+สนย.) มาตรการป้องกัน ACDR Ambulance Safety Community Checkpoint(ด่าน) DHS-RTI RTI Officer เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทางถนน (จปถ.) ใน หน่วยงาน (กรม คร.+กรม สบส.+สป.) มาตรการรักษา พัฒนาคุณภาพ 2 EIR EMS คุณภาพ ER คุณภาพ In-hos คุณภาพ Referral System (กรม พ. + สธฉ.) 1 1 1 2 2 2 3 1 3 3 4 4 2 4 3 4 Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เขตสุขภาพมีแผนและสนับสนุนงบประมาณ RTI ครบทุกเขต มีแผนปฏิบัติการ SAT/EOC-RTI ในจังหวัด ครบทุกจังหวัด 3. สสอ./รพช.เป็นเลขาร่วมใน ศปถ. อำเภอ โดยนำเสนอข้อมูลของ พื้นที่ อย่างน้อย 50% มีการดำเนินงานของ TEA Unit คุณภาพ ในรพ. A S M1 มากกว่า 30% มีการปรับข้อมูลการตายของประเทศ โดยใช้ข้อมูล 3 ฐาน มีอำเภอดำเนินงาน DHS-RTI มากกว่า 80% ของอำเภอในจังหวัด มีระบบรายงานข้อมูล IS Online มีระบบรายงานการสอบสวน Online และการสังเคราะห์ข้อมูล จำนวนผู้บาดเจ็บ(Admit)รวมกับผู้เสียชีวิตในอำเภอ DHS-RTI ที่ดำเนินการด่านชุมชน ลดลง 5% ในช่วงเทศกาล (ปีใหม่และสงกรานต์) มี one stop center นำเสนอข้อมูล RTI ผ่าน web & mobile มีอำเภอเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ DHS-RTI ระดับดี 50% มีการนำเสนอจุดเสี่ยงมากกว่า 1,520 จุด ไม่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถพยาบาล ผู้บาดเจ็บที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิต ไม่เกิน 1.5% เป้าหมายลดการตายจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางบก ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน (ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2559 อัตราตาย = 18.9 ต่อประชากรแสนคน มาตรการในการดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข แบ่งเป็น 4 มาตรการ ในแต่ละมาตรการมีกิจกรรมสำคัญ 4 กิจกรรม ชื่อเล่น มาตรการ 4X4 มีดังนี้ มาตรการบริหารจัดการ : รับผิดชอบโดย สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรการบริหารจัดการข้อมูล 4I มาตรการป้องกัน รับผิดชอบโดยกรมควบคุมโรค และกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มาตรการรักษา รับผิดชอบโดยกรมการแพทย์ และสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

ตัวชี้วัดที่ 5 : จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มาตรการ ขับเคลื่อน DHS-RTI + ศปถ. อำเภอ จัดการข้อมูลในระดับอำเภอ การสอบสวน Case การมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา + ศปถ.อำเภอ การชี้เป้าจุดเสี่ยง ผ่าน ศปถ.อำเภอ การขับเคลื่อนให้เกิด RTI Team มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน มาตรการองค์กร มีแผนงาน/โครงการ การสื่อสารความเสี่ยง การสรุปผลการดำเนินงาน Ambulance safety เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางถนน เป้าหมายการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ร้อยละ 30 ของอำเภอในจังหวัด รวม 264 อำเภอ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี ร้อยละ 50 (132 อำเภอ) เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน >1 % ≥2% ≥3% ≥4% ≥5% การประเมินผล : ใช้ฐานข้อมูล e-claim ของบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ความถี่การจัดเก็บข้อมูล: ปีละ 1 ครั้ง เมื่อสิ้นไตรมาสที่ 4 Small Success ตัวชี้วัดนี้เป็น Joint KPI ระดับกระทรวง ในส่วนของกรมควบคุมโรค จะมีการดำเนินการโดย ส่วนกลาง/เขต/ขับเคลื่อน DHS/DC + ศปถ.อำเภอ ดำเนินการมาตรการชุมชน/ด่านชุมชน RTI Team แก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา ติดตามประเมินผล อำเภอ/จังหวัด - รพ.สธ. ใช้มาตรการ Ambulance safety โดยวัดความสำเร็จคือ 3 เดือน ร้อยละ 20 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐานและนำไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งชี้เป้าจุดเสี่ยง 380 จุด 6 เดือน - จัดทำรายงานเสนอศูนย์อำนวยการเพื่อความปลอดภัยทางถนนเพื่อขอมติให้ข้อมูลตาย 3 ฐานเป็นข้อมูลอ้างอิง - จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ไม่น้อยกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด 9 เดือน - มีระบบรายงานการสอบสวนใน Web Based - อุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง 50% 12 เดือน - ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน, จังหวัดชี้เป้าจุดเสี่ยง 1,520 จุด, DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50%, 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. หน่วยงานระดับเขต (สคร.) มีแผนงาน DHS-RTI และ มีกิจกรรมขับเคลื่อนในพื้นที่ ครบทุกเขต 100% 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มากกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด หรือมากกว่า 264 อำเภอ 2. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อนด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5 ด่าน/อำเภอ ในช่วงเทศกาลปีใหม่ ได้มากกว่า 264 อำเภอ 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อน ด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5ด่าน/อำเภอ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ได้มากกว่า 264 อำเภอ 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) มากกว่า 50% ของอำเภอที่ดำเนินการ หรือมากกว่า 132 อำเภอ 2. จำนวนผู้เสียชีวิตรวมผู้บาดเจ็บทางถนนใน อำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5%

Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560 ตัวชี้วัดที่ 6 : อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ มาตรการ : 1. คัดกรอง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2. กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการลดเสี่ยง Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 50 % สนับสนุนเครื่องมือ 1. ชุดมาตรฐานการบริการป้องกันควบคุมโรคDM,HT 2. คู่มือการประเมินคุณภาพ NCD Clinic Plus ปี 2560 - คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไปพร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 80 % - สนับสนุนเครื่องมือสื่อความรู้ - คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 90 % อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 (536 ต่อแสนประชากร) อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ลดลง ร้อยละ 0.25 (258 ต่อแสนประชากร) เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ข้อมูลพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 6: อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และ/หรือ เบาหวานรายใหม่ ผู้ป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงคือ ผู้ป่วยที่มีรหัส ICD10 = I10 – I15 ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคเบาหวาน ในทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = E10-E14) เป้าหมาย คือ อัตราเพิ่มของผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 จากปี 2559 โดยเก็บข้อมูลจาก HDC มาตรการที่สำคัญ 1. คัดกรองกลุ่มเสี่ยง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2. กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 2 3 4 5 หน่วยวัด 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 ร้อยละ HT (679) (643) (607) (572) (536) ต่อแสนปชก. DM (327) (310) (293) (276) (258) ปี 57 ปี 58 ปี 59 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ต่อแสนประชากร 795 714 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ต่อแสนประชากร - 401 344 * หมายเหตุ : ปี 59 ข้อมูล ณ 26 ต.ค. 59 จาก HDC การประเมินผล : จากข้อมูล HDC ทุก 1 ปี (ปีงบประมาณ) โดยใช้ข้อมูลจาก HDC

ขอบคุณครับ