ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Research- Fact finding
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
IQA network Why and How to ?
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก (Qualify Examination : QE)
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
ทบทวนที่เรียนมาทั้งหมดครั้งที่ 1
Strategic management Business Concept Business Model
รายละเอียดขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์
วิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพ โอกาส (Opportunity: O)
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
เปิดประชุมเวลา น. รายชื่อผู้เข้าประชุม.
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
Management system at Dell
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กองทัพอากาศ ทุ่งสีกัน
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การพัฒนางานผู้ป่วยนอก
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
กฎหมายข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย สำนักงาน ก.พ.
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
การสวัสดิการกองทัพเรือ
โรงพยาบาลนนทเวช.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์ หลักการและแนวคิด ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์ จัดโดย สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงาน กพร ณ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี อาคารวิทยกิตติ์ ห้องประชุมชั้น 13 วันศุกร์ที่ 19 ก.พ.53 เวลา 13.00-16.00 น 1

ความรู้กระป๋องไม่เพียงพอ ต้องเป็นความรู้สด Strategic Planning Strategic Management Team Management ความรู้กระป๋อง กระบวนการคิด  ความรู้ประสบการณ์เดิม = ความเข้าใจใหม่

เปลี่ยนแปลงในระดับ วิธีคิด ทัศนคติ ลักษณะนิสัยการคิด พฤติกรรม Thinking Manifesting (การแสดงออก) Living (วิถีชีวิต) Being (ความเป็นเรา) Knowing (ความรู้) Thinking (ความคิด)

ความหมายของกลยุทธ์ กลยุทธ์ หมายถึง วิธีการหรือแผนการที่คิดขึ้นอย่างรอบคอบ มีลักษณะเป็นขั้นตอน มีความยืดหยุ่น พลิกแพลงตามสถานการณ์ มุ่งหมายเพื่อเอาชนะคู่แข่งขัน หรือเพื่อหลบหลีกอุปสรรคต่าง ๆ กระทั่งสามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ

เป้าหมาย อุปสรรค

ความสำคัญของการคิดเชิงกลยุทธ์ 1 ช่วยเพิ่มโอกาสแห่งความสำเร็จ 2 ฉุดจากความฝันสู่โลกความจริง 3. ช่วยไม่ให้หลงไปกับผลประโยชน์ระยะสั้น 4. ควบคุม “ตัวเรา” ให้ไปถึงเป้าหมาย 5. ช่วยให้เราตระหนักถึงผลได้-ผลเสียของการ ตัดสินใจ

“กระบวนการคิดเชิงกลยุทธ์”

วิเคราะห์ / ประเมินสถานะ ระบุเป้าหมาย วิเคราะห์ / ประเมินสถานะ วิเคราะห์ เพื่อไปสู่เป้าหมาย วิเคราะห์ทางเลือก เลือกทางเลือก ที่ดีที่สุด วางแผน ดำเนินการ ประเมินผล/ปรับปรุง บรรลุเป้าหมาย

มี 8 ขั้นตอนสำคัญ อันได้แก่ 1. ระบุเป้าหมาย / เป้าประสงค์ 2. วิเคราะห์และประเมินสถานะ 3. หาทางเลือกเพื่อไปสู่เป้าหมาย 4. วิเคราะห์ทางเลือก 5. เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด 6. วางแผน 7.ดำเนินการ 8.ประเมินผล/ปรับปรุง

ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดสถานะเป้าหมาย วิสัยทัศน์ (vision) วิสัยทัศน์ของผู้บริหารต้อง อยู่บนฐานของความเป็นได้จริง มีการวางแผนเป็นลำดับขั้น มีการประเมินสภาพแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต ภารกิจที่จะต้องปฏิบัติ (Mission) เป้าหมาย (Goals) วัตถุประสงค์ (Strategic objectives)

VISION MISSION GOALS OBJECTIVES

ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์และประเมินสถานะ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก วิเคราะห์ “SWOT Analysis” จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) อุปสรรค (Threat)

จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก ใช้จุดแข็งขององค์กรเพื่อฉวยประโยชน์จากโอกาส ที่มี หาหนทางในการลดจุดอ่อนขององค์กรเพื่อฉวยประโยชน์จากโอกาสที่มี อุปสรรค ใช้จุดแข็งขององค์กรเพื่อจัดการกับอุปสรรคที่มีอยู่หรือเพื่อหลีกเลี่ยงอุปสรรคที่จะเกิดขึ้น หาทางลดทั้งจุดอ่อนและอุปสรรค โดยอาจร่วมมือกับองค์กรอื่นเพื่อรับความช่วยเหลือ ปัจจัยภายนอก

องค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคิดเชิงกลยุทธ์ หนึ่ง รู้จักตนเอง….รู้จุดแข็ง/จุดอ่อน ของตน สอง รู้จักสภาพแวดล้อม…รู้โอกาสและอุปสรรค สภาพแวดล้อม ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการวางกลยุทธ์ มีผลกระทบ/ เกี่ยวข้องทางตรง เกี่ยวข้องทางอ้อม สาม รู้จักอนาคต…รู้ความไม่แน่นอนของอนาคต

ความรุนแรงของ ผลกระทบ ความสามารถในการรับมือ ต่ำ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 ไม่ไหว /เสี่ยงมาก ไม่แน่/เสี่ยง พอไหว มั่นใจ สูง ความรุนแรงของ ผลกระทบ ความสามารถในการรับมือ A B D C

ขั้นตอนที่ 3 การหาทางเลือกไปสู่เป้าหมาย ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์ทางเลือก ขั้นตอนที่ 5 เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด การตัดสินใจ การกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะดำเนินการ การวิเคราะห์สถานการณ์ที่เป็นอยู่ การกำหนดทางเลือกหลาย ๆ ทางและวิเคราะห์ทางเลือกเหล่านั้น พิจารณาทางเลือกแต่ละทางว่ามีส่วนดีส่วนเสียอย่างไร เลือกทางที่เห็นว่าดีที่สุด

เป้าหมาย วิเคราะห์สถานการณ์ กำหนดทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก เลือกทางที่ดีที่สุด

ภายใต้ 3 สภาวะ อันได้แก่ หนึ่ง สภาวะที่แน่นอน (Certainty) สอง สภาวะที่ไม่แน่นอน (Uncertainty) สาม สภาวะที่มีความเสี่ยง (Risk)

ขั้นตอนที่ 6 การวางแผน โดยแจกแจงในรายละเอียดว่า เรามีเป้าหมายจะทำอะไร? จะทำเมื่อไร? จะทำอย่างไร? ใครเป็นผู้กระทำ?

โดยการกำหนดถึง ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ระยะเวลาของแผน สถานที่ดำเนินงาน ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานในภาคปฏิบัติ ลักษณะและโครงสร้างองค์การเพื่อรองรับแผนงาน จำนวนและลักษณะของบุคลากรที่ร่วมดำเนินงาน

ทรัพยากรที่จำเป็น สิ่งที่ต้องการการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง ระบบการติดตาม ควบคุม และประเมินผลการทำงาน ตลอดจนงบประมาณที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินการตามแผนด้วย

แผนงานที่ชัดเจนช่วยอะไรบ้าง ช่วยให้เราเห็นทิศทางสู่เป้าหมายที่ชัดเจน ช่วยลดความเสี่ยงภัยและความไม่แน่นอนลง ช่วยให้สามารถเตรียมความพร้อม ช่วยให้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยควบคุมความคิดและพฤติกรรมให้มุ่งสู่เป้าหมาย

ช่วยเปิดโอกาสให้เข้าใกล้ความสำเร็จที่วัดได้ ช่วยลดโอกาสการดำเนินการอย่างผิดพลาด ช่วยประหยัดเวลาและทรัพยากร 

ส่วนที่หนึ่ง เป้าหมาย (ends) ส่วนที่สอง วิถีทางหรือแนวทางปฏิบัติ (means)

ขั้นตอนที่ 7 การดำเนินการหรือการจัดการ ยืดหยุ่นตามสถานการณ์…ไม่มีสูตรตายตัว มุ่งตอบสนองสถานการณ์เฉพาะหน้า..พยายามยึดโยงเป้าหมาย มีความคิดแง่บวกเสมอ พยายามเข้ายึดเป้าหมายให้ได้ มีความสามารถในการควบคุมตนเอง ตอบสนองสถานการณ์อย่างรวดเร็ว พยายามหาโอกาสจากอุปสรรค หากพบอุปสรรคใด ๆ ที่ทำให้ต้องเปลี่ยนหรือปรับแผน จะต้องถามตนเองก่อนว่า เราปรับแผนนั้นเพื่อวัตถุประสงค์อะไร

ขั้นตอนที่ 8 การติดตามและประเมินผล สิ่งที่ควรทำในการประเมินผล/ปรับปรุงคือ 1.ตรวจสอบสถานการณ์อยู่เสมอ 2.ประเมิน ผลการทำงานโดยให้ความสำคัญกับผลลัพธ์ มากกว่ารายละเอียด

การคิดเชิงกลยุทธ์ในสภาวะต่างๆ 1. เมื่ออยู่ภายใต้สภาวะที่ต้องแข่งขัน/ต่อสู้ 2. เมื่ออยู่ภายใต้สภาวะที่ต้องแก้ปัญหา 3. เมื่ออยู่ในสภาวะที่ต้องบรรลุเป้าหมายภายใต้ความจำกัด

เงื่อนไขความสำเร็จ ในการเป็นนักคิดเชิงกลยุทธ์

1. มีข้อมูล+ความรู้+ปัญญา หนังสือ คนโง่ คนฉลาด คนเจ้าปัญญา (The Foolish, The Clever and The Wise) พูดถึงคน 3 ประเภทนี้ไว้ว่า คนโง่ ชอบไหลไปตามความคิด จึงมีภารกิจอันไม่รู้ตัวอย่างไม่สิ้นสุด

คนฉลาด ชอบสร้างความคิด จึงมีจินตนาการอันสวยหรูที่ไม่เป็นจริงอย่างไม่สิ้นสุด คนเจ้าปัญญา ชอบบริหารความคิด สร้างสรรค์ ตกแต่ง ตัดต่อ และวางเมื่อสมควร จึงได้ประโยชน์สูงสุดจากความคิด

2. มีความชัดในกระบวนการคิดเชิงกลยุทธ์ 1) ชัดในเป้าหมาย 2) ชัดในการรู้จัก..รู้จักตนเอง รู้จักสภาพแวดล้อม รู้จักอนาคต 3) ชัดในทางเลือก ด้วยวิธีการหลาย 4) ชัดในแผนการ แต่ยืดหยุ่นและพลิกแพลง 5) ชัดในการจัดการ 6) ชัดในการประเมินสถานการณ์

ชัดในเป้าหมาย ชัดในการรู้จัก ชัดในทางเลือก ชัดในแผนการ ชัดในการจัดการ ชัดในการประเมิน ตนเอง สภาพแวดล้อม อนาคต 1 2 5 4 3 6 นักคิดเชิงกลยุทธ์

3. มีความคิดแง่บวก 4. มีความใฝ่รู้ 5. เป็นนักฉวยโอกาส 6 3. มีความคิดแง่บวก 4. มีความใฝ่รู้ 5. เป็นนักฉวยโอกาส 6. เป็นนักตั้งคำถามให้กับตัวเอง

เงื่อนไขความสำเร็จในการดำเนินกลยุทธ์ภายในองค์การ 1. การจัดองค์การที่เอื้อต่อการดำเนินกลยุทธ์ 2. ผู้บริหารที่มีความสามารถในการนำองค์การ

หลักการนำองค์การที่สำคัญได้แก่ ก.การสร้างเครือข่าย (Network management) ข. การบริหารแบบทีมงาน (Teamwork management) ค. การบริหารงานในภาวะวิกฤติ (Crisis management)

ง. การบริหารแบบสอนงาน (Coaching) จ ง. การบริหารแบบสอนงาน (Coaching) จ. การบริหารความขัดแย้ง (Conflict management) ฉ. การนำแบบสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational) มากกว่าสั่งการ (Autocratic)

ตู้ ป.ณ. 369 ปณจ. พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 E-mail: kriengsak@kriengsak.com , Kriengsak@post.harvard.edu Website:http://www.kriengsak.com เบอร์โทร: 08 1776 8989 , 0 2713 5550 เบอร์แฟกซ์ : 0 2713 5550 ตู้ ป.ณ. 369 ปณจ. พระโขนง กรุงเทพฯ 10110