การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สกลนครโมเดล.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
Excellence ที่ 1 Prevention & Promotion Excellence
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คู่มือ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สำหรับ Child & Family Team (CFT) เขตสุขภาพที่ 9.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
สรุปผลการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)                     ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด มีผลต่อการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและเซลล์ของระบบประสาทจะมีผลให้เกิดความพิการทางสมองและเกิดภาวะปัญญาอ่อนตามมา มักแสดงอาการเด่นชัดขึ้นเมื่ออายุมากกว่า 3 เดือน-3 ปี

สรุปผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการขาดสารไอโอดีนจังหวัดชลบุรี (ค่าTSHมากกว่า11.2mu/lแยกรายอำเภอ ปี2556 อำเภอ จำนวนรายที่ส่งตรวจทั้งหมด จำนวนที่มีภาวะเสี่ยง ร้อยละ จำนวนที่ตรวจซ้ำ/ พบผิดปกติ บ่อทอง 483 23 4.76 หนองใหญ่ 300 15 5.00 บ้านบึง 1,617 90 5.57 เมือง 6,608 392 5.93 เกาะสีชัง 25 2 8.0 พานทอง 760 64 8.42 ศรีราชา 9037 1026 11.35 28/5 พนัสนิคม/เกาะจันทร์ 1574 181 11.50 5/0 บางละมุง 4719 544 11.53 สัตหีบ 4112 768 18.68 รวม 29235 3105 10.62 34/5

ร้อยละทารกที่มีอายุครบ ≥ 48 ชม. เจาะส้นเท้า ที่มีค่าTSH>11 ร้อยละทารกที่มีอายุครบ ≥ 48 ชม.เจาะส้นเท้า ที่มีค่าTSH>11.2<25mu/l แยกรายโรงพยาบาล ปี2556

สรุปติดตามสถานการณ์ภาวะพร่องไทรอยด์/ป่วยในทารกแรกเกิดโรงพยาบาลสมิติเวช ทารกแรกเกิดมีภาวะพร่องไทรอยด์ (TSH >11.2 mU/) ร้อยละ 37.76 - ทารกแรกเกิดคัดกรองและตรวจยืนยันซ้ำ พบป่วยเป็นโรค 5 ราย สถานการณ์ในโรงพยาบาล แพทย์ส่วนใหญ่มีการจ่ายวิตามินเสริมไอโอดีนให้แก่หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์แต่ไม่ครบทุกคน ไม่มีการให้สุขศึกษาประโยชน์ของไอโอดีนให้แก่หญิงตั้งครรภ์ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบไม่ทราบนโยบายและความสำคัญของไอโอดีน ทารกที่เป็นโรคทุกรายมีการส่งรักษาต่อที่โรงพยาบาล ศรีนครินทร์ (เครือข่าย)ซึ่งทางโรงพยาบาลให้การรักษาและติดตามอย่างต่อเนื่อง

โรงพยาบาลสมิติเวชศรีราชา ผลการติดตามเยี่ยม โรงพยาบาลสมิติเวชศรีราชา                    

ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้ทารกที่คลอดในประเทศไทยทุกรายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชา พบอัตราความผิดปกติดังนี้ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดในจังหวัดชลบุรี จึงได้มีการทบทวน ถึงสาเหตุของภาวะนี้ตั้งแต่หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ ทารกคลอด หลังคลอด 4/4/2019 Copyright 2014

ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้ทารกที่คลอดในประเทศไทยทุกรายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชา พบอัตราความผิดปกติดังนี้ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดในจังหวัดชลบุรี จึงได้มีการทบทวน ถึงสาเหตุของภาวะนี้ตั้งแต่หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ ทารกคลอด หลังคลอด 4/4/2019 Copyright 2014

ผลการตรวจ TSH ปี 2556 ผลการตรวจคัดกรอง TSH ที่มากกว่า 11.2 mU/L จำนวน 313 ราย จากจำนวนคนไข้ทั้งหมด 829 ราย ติดตามผู้ป่วยมาตรวจซ้ำในกรณีที่ผล TSH > 25 mU/L ครบทุกราย ( 18 ราย ) - ผลการตรวจซ้ำพบว่ามีป่วย 4 รายได้รับการรักษาด้วยยา 4/4/2019 Copyright 2014

จากการทบทวน case พบว่า 1. Case คลอดทั้งหมด 829 ราย จากคลินิกส่งมาคลอด 135 รายANC ที่โรงพยาบาลเอง 694 ราย 2.หญิงที่มาฝากครรภ์ในโรงพยาบาลจะมาฝากครรภ์ในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์เป็นส่วนมาก 3. การได้รับยาที่มีส่วนผสมของไอโอดีน ในโรงพยาบาลมีการสั่งยาให้ผู้ป่วยคือ Obimin AZ / Prenamed 4. หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้รับยาที่มีส่วนผสมของไอโอดีน จำนวน 255 ราย 4/4/2019 Copyright 2014

ทบทวนต่อ 5. พฤติกรรมการรับประทานอาหาร ส่วนใหญ่ทำอาหารเอง มีบางท่านที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทะเลได้เนื่องจากได้กลิ่นแล้วคลื่นไส้ อาเจียน และมีส่วนน้อยที่ซื้อรับประทาน 6. การได้รับอาหารเสริม ส่วนใหญ่ไม่ได้รับ 7.หญิงที่มาฝากครรภ์ได้รับคำแนะนำเรื่องอาหาร ยาและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์แต่ยังไม่ได้เน้นถึงการรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของไอโอดีน 4/4/2019 Copyright 2014

การวางแผนและแนวทางแก้ไข 1. จัดหายาที่มี ไอโอดีน มาใช้ในโรงพยาบาล ได้ดำเนินการแล้วแต่ยาหมดและไม่จำหน่ายให้กับเอกชน 2. ติดตามการรับประทานยาของหญิงตั้งครรภ์ มีการติดตามการรับประทานยาของหญิงตั้งครรภ์โดยแพทย์ 3. ติดตามพัฒนาการของเด็กสมวัย ( ตามการฉีดวัคซีนของเด็ก ) 4. การให้ยาที่มีไอโอดีนในหญิงหลังคลอดต่อเนื่อง 6 เดือน 5. การให้คำแนะนำเกี่ยวกับผลดี ผลเสีย ของการรับประทานยา และผลิตภัณฑ์ที่มีไอโอดีนเสริม ในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ หรือเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก 4/4/2019 Copyright 2014

บอร์ดให้คำแนะนำที่แผนกสูติ Slide ในการสอน ANC บอร์ดให้คำแนะนำที่แผนกสูติ 4/4/2019 Copyright 2014

กรณี case ศึกษาเด็กป่วย 4 ราย ชื่อ - สกุล OBIMIM AZ PRENAMED ฝากครรภ์ ( wk ) อาหารเสริม พัฒนาการเด็ก การรักษา พฤติกรรมการรับประทานอาหาร คุณ……….. จิตพูลผล ไม่ได้รับยาที่มีไอโอดีน 5 X ปกติ 1.3 ปี ได้รับยาต่อเนื่อง ทำเอง+ ซื้อ+ทานนอกบ้าน คุณ……….. ช่างเหล็ก   32 wk 6 เดือนยังไม่คว่ำ คุณ………. ลือธรรมภักดี 26 ปกติ 1 ปี ซื้อ+ทานนอกบ้าน คุณ……….. อริยธนกุล 10 wk 6 ทำเองส่วนใหญ่ หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้รับยาที่มีไอโอดีน มี 1 รายที่เด็กต้องได้รับยา(จาก 255 ราย) การพัฒนาการของเด็กสมวัย มี 1 รายที่อายุ 6 เดือนยังคว่ำไม่ได้ แนะนำพบนักพัฒนาการเด็ก อีก 3 รายพัฒนาการปกติ เด็กทุกรายจะได้รับยาต่อเนื่องจนอายุครบ 3 ปี 4/4/2019 Copyright 2014

การสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี สนับสนุนยาเม็ดเสริมไอโอดีน (TRIFERDINE)ให้โรงพยาบาลสมิติเวชศรีราชา ให้หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่สามารถรับประทานยาที่โรงพยาบาลจัดซื้อเนื่องจากมีขนาดใหญ่และมีอาการคลื่นอาเจียนเดือนละ 5 ราย(รายใหม่) แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการMCH Board จังหวัดชลบุรี(ภาคเอกชน) เชิญเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเข้าร่วมประชุมเพื่อรับทราบนโยบายและพัฒนาองค์ความรู้และรับทราบแนวทางในการดำเนินงานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว

ขอบคุณค่ะ ด้วยรักและห่วงใย 4/4/2019 Copyright 2014