KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM) การจัดการความรู้ KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM) 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
การจัดการความรู้ คืออะไร การนำความรู้ที่มีอยู่ภายในและภายนอกองค์กร โดยเน้นความรู้จากการปฏิบัติงาน มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และยกระดับความรู้ เพื่อให้องค์กรสามารถพัฒนา และดำเนินงานได้บรรลุเป้าหมายที่ประสงค์ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
ดำเนินการจัดการความรู้อย่างไร รวบรวมความรู้จากแหล่งต่างๆ ให้มากที่สุด นำมาสะสมเป็นฐานความรู้ แบ่งปันความรู้ (knowledge sharing) ให้กับคนในองค์กร นำความรู้มาใช้ในการทำงานอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ เพื่อนำข้อมูลที่มีอยู่จำนวนมากมาใช้ประโยชน์ ทำให้องค์กรสามารถเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันได้ดียิ่งขึ้น เพื่อใช้เป็นต้นทุนทางปัญญา (intellectual capital) นำองค์กรไปสู่การปรับตัว และมีความสามารถในการแข่งขันกับภายนอก เพื่อสร้างความสำเร็จและความมีชีวิตชีวาให้องค์กร เพื่อเพิ่มสมรรถนะในการดำเนินงานขององค์กรในสังคมเศรษฐกิจยุคใหม่ที่เป็นโลกแห่งการเรียนรู้ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ องค์กรต้องปรับตัวอย่างไร ภายใต้สภาวะแวดล้อมของสังคมเศรษฐกิจความรู้ องค์กรต้องเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ เปลี่ยนวิธีการทำงานใหม่ การปฏิบัติงานแบบเก่า เน้น การใช้ความรู้ที่มี “ผู้รู้” กำหนดไว้ การปฏิบัติงานแบบใหม่ เน้น “การเรียนรู้จากการทำงาน” มุ่งหมายการพัฒนาวิธีทำงานให้มีผลสัมฤทธิ์ และมีลักษณะการเรียนรู้ร่วมกันกับเพื่อนร่วมงาน 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
องค์กรได้รับประโยชน์อย่างไร คุณค่าของบุคลากรเพิ่มขึ้น คุณภาพบุคลากรเพิ่มขึ้น มีมุมมองใหม่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถทำสิ่งที่ไม่เคยทำมาก่อนได้ คุณค่าของผลผลิตเพิ่มขึ้น คุณค่าของงานบริการเพิ่มขึ้น 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
(การปฏิบัติงานแบบเก่า) (การปฏิบัติงานแบบใหม่) กระบวนทัศน์เดิม (การปฏิบัติงานแบบเก่า) กระบวนทัศน์ KM (การปฏิบัติงานแบบใหม่) มองการบริหารแบบ ”จัดการ” มองการบริหารแบบ “บูรณาการ” จัดแจง + สั่งการ ใช้ คำสั่ง + ควบคุม มองคนในฐานะ “ผู้ปฏิบัติ” เห็นความรู้อยู่ “ลอย ๆ” - แยกจากคน - ไม่อิงบริบท ความรู้แนบแน่น - อยู่กับคน - อยู่กับงาน เน้นการ “มีส่วนร่วม” ใช้ความรู้ + ความรู้สึก เน้น เสริมพลัง + สนับสนุน 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
ระบบการจัดการความรู้ การค้นหาองค์ความรู้ การเก็บรวบรวมความรู้ การแบ่งปันความรู้ การนำความรู้ไปใช้ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
ระบบการจัดการความรู้ การค้นหาองค์ความรู้ การเก็บรวบรวมความรู้ การแบ่งปันความรู้ การนำความรู้ไปใช้ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ ระดับของความรู้ ความรู้ในรูปแบบความคิดสร้างสรรค์ ที่ผลักดันจากภายในตัวบุคคล III. ความรู้เชิงเหตุผล ได้รับจากประสบการณ์ การแก้ปัญหา ความรู้ที่เชื่อมโยงมาจากประสบการณ์ ( practical experience ) ความรู้เชิงข้อเท็จจริง ( book knowledge ) 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
การแบ่งชนิดของความรู้ อาจแบ่งได้หลายแบบ ตื้น และ ลึก (shallow and deep) เปิดเผย (explicit) และ ฝังลึก (tacit) จากการทำงานรูปแบบซ้ำๆ (procedural) และ ความรู้จากการสะสมประสบการณ์ / ปฏิบัติมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน (episodal) แบบเป็นส่วนๆ (chunking) 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
EXPLICIT AND TACIT KNOWLEDGE Explicit knowledge (knowing that) เป็นความรู้ที่ เปิดเผยทั่วไป อยู่ในเอกสาร หนังสือ รายงาน บันทึกต่างๆ Tacit knowledge (knowledge how) เป็นความรู้ ที่ฝัง ลึกอยู่ในตัวตน / แต่ละบุคคล ซึ่งสะสมมาจาก ประสบการณ์/การทำงาน การนำ tacit knowledge มาดำเนินการ ให้เป็น explicit knowledge เป็นการ จัดการความรู้แบบหนึ่ง 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
บุคคลเรียนรู้อย่างไร เรียนจากประสบการณ์ - ต้องใช้เวลาและ สติปัญญาประกอบ เรียนจากตัวอย่าง - ดีกว่าเรียนจาก ประสบการณ์ เรียนรู้โดยการศึกษา ค้นคว้า 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ ระบบการจัดการความรู้ การค้นหาองค์ความรู้ การเก็บรวบรวมความรู้ การแบ่งปันความรู้ การนำความรู้ไปใช้ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
การเก็บรวบรวมความรู้ Explicit knowledge: รวบรวมจากสื่อต่างๆ Tacit knowledge: รวบรวมจากผู้เชี่ยวชาญ (expert) ในองค์กร โดยใช้เครื่องมือและวิธีการต่างๆ ต้องมีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมความรู้จาก expert เพื่อสร้างเป็นฐานความรู้ ต้องสร้างทีมงานในการรวบรวมและถ่ายทอดความรู้ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
การแลกเปลี่ยน TACIT KNOWLEDGE เกิดจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ expert เช่น เป็นลูกมือ หรือ ทำงานร่วมกันอยู่ การระดมความคิดจากการประชุมบุคลากรใน หน่วยงาน นำข้อมูลมาเปรียบเทียบ สรุป แล้ว นำเสนอสิ่งที่ดีที่สุด 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ ระบบการจัดการความรู้ การค้นหาองค์ความรู้ การเก็บรวบรวมความรู้ การแบ่งปันความรู้ การนำความรู้ไปใช้ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
เครื่องมือในการจัดการความรู้ เทคโนโลยีด้านข้อมูล (IT) และคอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดการและแบ่งปันความรู้ เทคโนโลยีด้านข้อมูล (IT) และคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ข้อมูลขับเคลื่อนไปได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างกิจกรรมการจัดการความรู้ พัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ต่างๆ ขององค์กร ทำข้อมูลรายชื่อ expert ด้านต่างๆ รวมทั้งหน่วยงานย่อยที่สังกัด และเบอร์โทรฯ ติดต่อ ดึงความรู้จาก expert มากระจายเพื่อส่งต่อ จัดระบบอำนวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูล ให้สามารถเข้าถึงและนำไปใช้ได้ง่าย จัดประชุมในรูปแบบต่างๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จัดให้มีการแก้ปัญหาร่วมกัน โดยหน่วยงานย่อยผลัดกันเป็นผู้ประสานงาน 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างกิจกรรมการจัดการความรู้ Con’t จัดฝึกอบรม หรือทำกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินความรู้และพัฒนาคนในองค์กร สร้างเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการค้นหาและ ประยุกต์ใช้ความรู้ เชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาบรรยายให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้กันเองภายใน หรือกับภายนอกองค์กรด้วย สนับสนุนให้สร้างกลุ่ม Best Practice / Community of Practice เพื่อแข่งขันกับภายนอก 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (dialogue) มีเป้าหมายเพื่อ หาแนวความคิดใหม่ๆ เน้น การนำเสนอความคิดเห็น หลายๆ แบบ พร้อมคำอธิบาย ต่างจากการอภิปรายโต้แย้ง (discussion) ซึ่งเป็นการนำ เสนอแนวความคิดหรือแนว ทางและการอภิปรายปกป้อง แนวความคิดของตน 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนการจัดการความรู้ ตรวจสอบเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ นำกลยุทธ์ด้านการจัดการความรู้ กับกลยุทธ์ด้านการศึกษามาเชื่อมโยงกัน ออกแบบโครงสร้างพื้นฐานของการจัดการความรู้ ตรวจสอบองค์ความรู้และระบบที่มีอยู่ ออกแบบทีมจัดการความรู้ ร่าง “พิมพ์เขียว” 7. พัฒนาระบบการจัดการความรู้ 8. สร้างต้นแบบและทดลองใช้ บริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรม และ โครงสร้างการ ตอบแทน (reward) 10. ดูผลลัพธ์โดยการประเมินผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด (KPI) ที่กำหนด 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ ระบบการจัดการความรู้ การค้นหาองค์ความรู้ การเก็บรวบรวมความรู้ การแบ่งปันความรู้ การนำความรู้ไปใช้ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
ใครเป็นผู้รับผิดชอบ KM ในองค์กร บุคลากรทุกคน ทุกระดับงาน เป็นหน้าที่ บุคลากรทุกคน ทุกระดับงาน 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
กุญแจสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย ต้องเป็นนโยบายขององค์กร ผู้นำระดับสูงให้การสนับสนุนและทำทุกวิถีทางเพื่อสยบแรงต้าน มีการให้รางวัล (reward) ในรูปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติ หรืออุทิศเวลาให้กับงาน KM มีการจัดการระบบ IT ที่พร้อมและสมบูรณ์ เพื่อให้บุคลากรทุกคน / ทุกระดับ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (manual) ต่างๆ เพื่อว่าเมื่อ คนมีความรู้ออกไป คนที่เหลือจะสามารถทำงานต่อไปได้ กำหนด KPI เพื่อประเมินผลสำเร็จของการดำเนินงาน ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง (continuous learning) 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
อุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนความรู้ ระบบความดีความชอบอาจไม่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้ สถานะที่ไม่เท่าเทียมกัน อาจปิดกั้นการแลกเปลี่ยน การแลกเปลี่ยนเกิดได้ยากหากระยะทาง และเวลาไม่เอื้ออำนวย คนบางกลุ่มจะไม่ให้ความสนใจในเรื่องการแลกเปลี่ยนความรู้ ถ้าข้อมูลที่ให้ไม่มีผลวิเคราะห์แนบมาด้วย บางคนไม่เชื่อว่าจะสามารถนำเสนอความรู้ที่ฝังลึกได้ เกิดความพิการของกลไกตลาดความรู้ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ 04/04/62 งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์