การพยาบาลมารดาที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง : จากปรัชญาสู่การปฏิบัติ (Family-centered maternity nursing : From philosophy through practice) โดย รองศาสตราจารย์วิไลพรรณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ชุมชนปลอดภัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
ผู้จัดการเกษตรแปลงใหญ่
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ผ.ศ.เสาวลักษณ์ สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
รายวิชา การบริหารการศึกษา
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
(Code of Ethics of Teaching Profession)
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
พ.ต.อ.หญิงนพมาศ ขำสมบัติ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพยาบาลมารดาที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง : จากปรัชญาสู่การปฏิบัติ (Family-centered maternity nursing : From philosophy through practice) โดย รองศาสตราจารย์วิไลพรรณ สวัสดิ์พาณิชย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

การพยาบาลที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง (Family-centered nursing) & ปรัชญาที่สนับสนุนความมั่นคงของครอบครัว เป็นการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพบุคคลและครอบครัว เพื่อให้เกิดการพัฒนาและพึ่งพาตนเองทางสุขภาพอย่างยั่งยืน & ได้รับการพิสูจน์ด้วยหลักฐานทางวิชาการแล้วว่าเป็น best practice & เหมาะสำหรับผู้รับบริการแผนก perinatal, neonatal และ pediatric

องค์ประกอบและหลักการ 4/4/2019 องค์ประกอบและหลักการ ปรัชญาการพยาบาลที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลางมี 3 องค์ประกอบย่อย 1. การตระหนักและการเคารพ (Recognizes and respects) 2. การร่วมมือกัน (Collaboration) 3. การสนับสนุน (Support) Copyright 2005 Brainy Betty, Inc.

4/4/2019 ฟิลลิปส์ และ แฟนวิค (Phillips & Fenwick, 2000) ได้ร่วมกันพัฒนา หลักการ (Principle) ของการพยาบาลมารดาที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ขึ้น 10 ประการ เพื่อชี้นำหรือเป็นแนวทางในการนำปรัชญานี้ไปสู่ปฏิบัติ ในคลินิก ดังนี้ Copyright 2005 Brainy Betty, Inc.

1. ต้องมองว่าการคลอดเป็นเรื่องของภาวะสุขภาพดี 2. การดูแลควรเฉพาะเจาะจงกับบุคคลและครอบครัว 3. โปรแกรมการให้ความรู้ เป็นการเตรียมครอบครัวเพื่อให้มีส่วนร่วม 4. ทีมบุคลกรทางการแพทย์ช่วยเหลือครอบครัวในการตัดสินใจเลือก

5. หญิงตั้งครรภ์เป็นผู้เลือกผู้ที่จะเข้ามาอยู่เป็นเพื่อนในระยะคลอด 6 5. หญิงตั้งครรภ์เป็นผู้เลือกผู้ที่จะเข้ามาอยู่เป็นเพื่อนในระยะคลอด 6. เมื่อหญิงตั้งครรภ์ต้องการให้มีผู้เข้าไปอยู่เป็นเพื่อนในระยะคลอด ก็ควรได้รับการสนับสนุน 7. สถานที่รอคลอดและคลอดควรจัดให้อยู่ในสถานที่เดียวกัน

8. มารดาเป็นผู้ดูแลที่เหมาะที่สุดสำหรับทารก 9 8. มารดาเป็นผู้ดูแลที่เหมาะที่สุดสำหรับทารก 9. บุคลากรที่ให้การดูแลมารดาและทารกควรเป็นคนเดียวกัน 10. บิดามารดาสามารถเข้าถึงทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูงได้ตลอดเวลา

จากหลักการสู่การปฏิบัติ ระยะตั้งครรภ์ * perinatal education * เน้นการเสริมสร้างพลังอำนาจ (empowerment) เพื่อเป็น active participant โดย โครงการจิตประภัสสรตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์ * เตรียมผู้เข้าอยู่เป็นเพื่อนในห้องคลอด

จากหลักการสู่การปฏิบัติ (ต่อ) ระยะคลอด * การมีผู้อยู่เป็นเพื่อนในห้องคลอด (present of a labor companion) เพื่อ share experience * เน้นการคลอดเป็นกระบวนการตามธรรมชาติ ลดการใช้เครื่องมือหรือกิจกรรมที่เกินความจำเป็น * เน้น holistic and humanistic model * สร้างสิ่งแวดล้อมให้คล้ายบ้าน

จากหลักการสู่การปฏิบัติ (ต่อ) ระยะหลังคลอด * การให้มารดา ทารก และครอบครัวอยู่ด้วยกัน (parent rooming-in) * พยาบาลคนเดียวกันดูแลทั้งมารดาและทารก * บทบาทพยาบาลสนับสนุนให้ครอบครัวดูแลกันเอง * การเยี่ยมของครอบครัว (family visitation)

ปัจจัยอุปสรรคต่อการปฏิบัติในคลินิกสังคมไทย 1. ปัจจัยภายใน 1.1 ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กร - เหนียวแน่นกับกฎระเบียบที่เคร่งครัด - ให้ความสำคัญกับการดูแลมิติทางกาย > จิตสังคม จิตวิญญาณ และการสื่อสารที่มีคุณภาพ - บุคลิกภาพส่วนตัวของพยาบาล 1.2 ปัจจัยด้านโครงสร้างระบบบริการ - ให้ความสำคัญกับการรักษาพยาบาล 1.3 ปัจจัยด้านองค์ความรู้ - งานวิจัยที่จะมารองรับปรัชญาเกี่ยวกับการดูแลมารดาที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลางยังมีค่อนข้างน้อย

ปัจจัยอุปสรรคต่อการปฏิบัติในคลินิกสังคมไทย (ต่อ) 2. ปัจจัยภายนอก 2.1 ปัจจัยด้านผู้รับบริการหรือผู้บริโภค 2.2 ปัจจัยด้านการศึกษาพยาบาล 2.3 ปัจจัยด้านองค์กรวิชาชีพ

แนวทางการพัฒนา * paradigm shift in thinking (เปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการคิด) - birth is normal, life experience - confidence in a women’s ability * change in nursing practice * change setting or environment to reflect that belief