การพยาบาลมารดาที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง : จากปรัชญาสู่การปฏิบัติ (Family-centered maternity nursing : From philosophy through practice) โดย รองศาสตราจารย์วิไลพรรณ สวัสดิ์พาณิชย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การพยาบาลที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง (Family-centered nursing) & ปรัชญาที่สนับสนุนความมั่นคงของครอบครัว เป็นการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพบุคคลและครอบครัว เพื่อให้เกิดการพัฒนาและพึ่งพาตนเองทางสุขภาพอย่างยั่งยืน & ได้รับการพิสูจน์ด้วยหลักฐานทางวิชาการแล้วว่าเป็น best practice & เหมาะสำหรับผู้รับบริการแผนก perinatal, neonatal และ pediatric
องค์ประกอบและหลักการ 4/4/2019 องค์ประกอบและหลักการ ปรัชญาการพยาบาลที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลางมี 3 องค์ประกอบย่อย 1. การตระหนักและการเคารพ (Recognizes and respects) 2. การร่วมมือกัน (Collaboration) 3. การสนับสนุน (Support) Copyright 2005 Brainy Betty, Inc.
4/4/2019 ฟิลลิปส์ และ แฟนวิค (Phillips & Fenwick, 2000) ได้ร่วมกันพัฒนา หลักการ (Principle) ของการพยาบาลมารดาที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ขึ้น 10 ประการ เพื่อชี้นำหรือเป็นแนวทางในการนำปรัชญานี้ไปสู่ปฏิบัติ ในคลินิก ดังนี้ Copyright 2005 Brainy Betty, Inc.
1. ต้องมองว่าการคลอดเป็นเรื่องของภาวะสุขภาพดี 2. การดูแลควรเฉพาะเจาะจงกับบุคคลและครอบครัว 3. โปรแกรมการให้ความรู้ เป็นการเตรียมครอบครัวเพื่อให้มีส่วนร่วม 4. ทีมบุคลกรทางการแพทย์ช่วยเหลือครอบครัวในการตัดสินใจเลือก
5. หญิงตั้งครรภ์เป็นผู้เลือกผู้ที่จะเข้ามาอยู่เป็นเพื่อนในระยะคลอด 6 5. หญิงตั้งครรภ์เป็นผู้เลือกผู้ที่จะเข้ามาอยู่เป็นเพื่อนในระยะคลอด 6. เมื่อหญิงตั้งครรภ์ต้องการให้มีผู้เข้าไปอยู่เป็นเพื่อนในระยะคลอด ก็ควรได้รับการสนับสนุน 7. สถานที่รอคลอดและคลอดควรจัดให้อยู่ในสถานที่เดียวกัน
8. มารดาเป็นผู้ดูแลที่เหมาะที่สุดสำหรับทารก 9 8. มารดาเป็นผู้ดูแลที่เหมาะที่สุดสำหรับทารก 9. บุคลากรที่ให้การดูแลมารดาและทารกควรเป็นคนเดียวกัน 10. บิดามารดาสามารถเข้าถึงทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูงได้ตลอดเวลา
จากหลักการสู่การปฏิบัติ ระยะตั้งครรภ์ * perinatal education * เน้นการเสริมสร้างพลังอำนาจ (empowerment) เพื่อเป็น active participant โดย โครงการจิตประภัสสรตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์ * เตรียมผู้เข้าอยู่เป็นเพื่อนในห้องคลอด
จากหลักการสู่การปฏิบัติ (ต่อ) ระยะคลอด * การมีผู้อยู่เป็นเพื่อนในห้องคลอด (present of a labor companion) เพื่อ share experience * เน้นการคลอดเป็นกระบวนการตามธรรมชาติ ลดการใช้เครื่องมือหรือกิจกรรมที่เกินความจำเป็น * เน้น holistic and humanistic model * สร้างสิ่งแวดล้อมให้คล้ายบ้าน
จากหลักการสู่การปฏิบัติ (ต่อ) ระยะหลังคลอด * การให้มารดา ทารก และครอบครัวอยู่ด้วยกัน (parent rooming-in) * พยาบาลคนเดียวกันดูแลทั้งมารดาและทารก * บทบาทพยาบาลสนับสนุนให้ครอบครัวดูแลกันเอง * การเยี่ยมของครอบครัว (family visitation)
ปัจจัยอุปสรรคต่อการปฏิบัติในคลินิกสังคมไทย 1. ปัจจัยภายใน 1.1 ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กร - เหนียวแน่นกับกฎระเบียบที่เคร่งครัด - ให้ความสำคัญกับการดูแลมิติทางกาย > จิตสังคม จิตวิญญาณ และการสื่อสารที่มีคุณภาพ - บุคลิกภาพส่วนตัวของพยาบาล 1.2 ปัจจัยด้านโครงสร้างระบบบริการ - ให้ความสำคัญกับการรักษาพยาบาล 1.3 ปัจจัยด้านองค์ความรู้ - งานวิจัยที่จะมารองรับปรัชญาเกี่ยวกับการดูแลมารดาที่ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลางยังมีค่อนข้างน้อย
ปัจจัยอุปสรรคต่อการปฏิบัติในคลินิกสังคมไทย (ต่อ) 2. ปัจจัยภายนอก 2.1 ปัจจัยด้านผู้รับบริการหรือผู้บริโภค 2.2 ปัจจัยด้านการศึกษาพยาบาล 2.3 ปัจจัยด้านองค์กรวิชาชีพ
แนวทางการพัฒนา * paradigm shift in thinking (เปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการคิด) - birth is normal, life experience - confidence in a women’s ability * change in nursing practice * change setting or environment to reflect that belief