ประวัติศาสตร์ยุครัตนโกสินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.คณิศร ร่มพฤกษา เลขที่ 17 ชั้น ป.4/2.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ธนาคารออมสิน.
การสร้างความตระหนักในโรงเรียนวิถีพุทธ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เศรษฐกิจพอเพียง.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ทฤษฎีทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ สพป.นครราชสีมาเขต ๗
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครั้งที่ ๓/๒๕๖๑
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติศาสตร์ยุครัตนโกสินทร์ การฟื้นฟูและบูรณะบ้านเมือง (ร.1- 2-3) การเปิดความสัมพันธ์กับต่างประเทศ (ร.3-4-5) การรักษาเอกราชให้พ้นภัยจักรวรรดิ นิยม (ร.4-5-6) การเข้าสู่ประชาคมโลกบนความเสมอ ภาค (ร.6) การเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง ประเทศ (ร.7) การกู้ชาติในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 (ร.8) การพัฒนาประเทศภายใต้ทุนนิยม โลกาภิวัฒน์ (ร.9)

ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัฒน์ “วิถีทางดำเนินของบ้านเมืองและของ ประชาชนโดยทั่วไปมีความเปลี่ยนแปลง มาตลอด เนื่องมาจากความวิปริตผันแปร ของวิถีแห่งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอื่นๆ ของโลก ยากยิ่งที่เราจะ หลีกเลี่ยงให้พ้นได้ จึงต้องระมัดระวัง ประคับประคองตัวเรามากขึ้น โดยเฉพาะ ในเรื่องการเป็นอยู่โดยประหยัด เพื่อที่จะ อยู่ให้รอดและก้าวหน้าต่อไปได้โดย สวัสดี” (พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ : ๓๑ ธันวาคม ๒๕๒๑)

เกิดผลกระทบ ปรับตัวได้ ความเปลี่ยนแปลง วิกฤติ ก่อนการเปลี่ยนแปลง หลังการเปลี่ยนแปลง สร้างความเข้มแข็ง (ภูมิคุ้มกัน) เกิดผลกระทบ ปรับตัวได้ ด้านวัตถุ เสียหายน้อย ฟื้นตัวเร็ว 2) ด้านสังคม 3) ด้านสิ่งแวดล้อม 4) ด้านวัฒนธรรม

(พระบาทสมเด็จพระเจ้าหัว รัชกาลที่ ๙ พระราชทานแด่ สภาพัฒน์ ๒๘ พ.ย.๒๕๔๐) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Philosophy of Sufficiency Economy Sufficiency Economy Philosophy (SEP) (พระบาทสมเด็จพระเจ้าหัว รัชกาลที่ ๙ พระราชทานแด่ สภาพัฒน์ ๒๘ พ.ย.๒๕๔๐)

พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ (๔ ธันวาคม ๒๕๔๐) “เศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า Sufficiency Economy” ...คำว่า Sufficiency Economy นี้ไม่มีใน ตำราเศรษฐกิจ จะมีได้อย่างไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ ... Sufficiency Economy นั้น ไม่มีใน ตำรา เพราะหมายความว่าเรามีความคิดใหม่ และโดยที่ท่านผู้เชี่ยวชาญสนใจ ก็ หมายความว่า เราก็สามารถที่จะไปปรับปรุง หรือไปใช้ หลักการ เพื่อที่จะให้เศรษฐกิจของประเทศและของ โลกพัฒนาดีขึ้น

พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ (๔ ธันวาคม ๒๕๔๐) "การกู้เงินที่นำมาใช้ในสิ่งที่ไม่ ทำรายได้นั้นไม่ดี อันนี้เป็นข้อ สำคัญ เพราะว่าถ้ากู้เงินแล้ว ทำให้มีรายได้ ก็เท่ากับจะ ใช้หนี้ได้ ไม่ต้องติดหนี้ ไม่ต้องเดือดร้อน ไม่ต้องเสีย เกียรติ"

พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) “สมัยก่อนนี้พอมีพอกิน สมัย นี้ชักจะไม่พอมีพอกิน จึงต้องมี นโยบายที่จะทำเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อที่จะให้ทุกคนมี ความพอเพียงได้ ให้ พอเพียง นี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่า พอ”

พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) “...คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภ น้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่น น้อย... ...มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภ อย่างมาก คนเราก็จะอยู่เย็นเป็นสุข... ...ความพอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของ หรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้อง ให้พอประมาณตามอัตตา... ...พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติ ตนก็พอเพียง”

(พระราชดำรัส 4 ธันวาคม 2541) ในด้านพูดจาและความคิดก็ต้อง พอเพียงด้วย เพื่อ มิให้เกิดการทะเลาะกัน ความพอเพียง ในความหมายนี้ ก็คือ ความ พอประมาณ และความมีเหตุผลนั่นเอง "ความพอเพียงในความคิดก็คือ แสดงความคิด ของตัว ความเห็นของตัว และปล่อย ให้อีกคนพูดบ้าง และมาพิจารณาว่า ที่เขาพูดกับที่เราพูด อันไหนพอเพียง อันไหนเข้าเรื่อง ถ้าไม่เข้าเรื่องก็แก้ไข เพราะว่าถ้าพูดกันโดยที่ไม่รู้เรื่อง ก็จะ กลายเป็นทะเลาะกัน..." (พระราชดำรัส 4 ธันวาคม 2541)

ในหลวงทรงเน้นย้ำถึงความหมาย ของเศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) ซึ่งเป็นคำใหม่ของ พระองค์ท่านอีกครั้งในปีพ.ศ. 2543 "หมายความว่า ประหยัด แต่ ไม่ใช่ขี้เหนียว ทำอะไรด้วยความอะลุ้มอล่วยกัน ทำอะไรด้วยเหตุและผล จะเป็น เศรษฐกิจพอเพียง แล้วทุกคนจะมี ความสุข"

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และ ปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร ประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความ พอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งใน การนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการ ดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และ นักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ กว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ เป้าประสงค์

เป้าประสงค์ เป็นแนวทางการปฏิบัติตนของ ประชาชนทุกระดับ “ทางสายกลาง” ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์

ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมี เหตุผล รวมถึงความ จำเป็นที่จะต้องมีระบบ ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควร ต่อการมี ผลกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทั้ง ภายนอกและภายใน หลักความ พอเพียง

(1) พอประมาณ พอดีพอเหมาะต่อ อัตภาพ ไม่มากเกิน ไม่น้อยเกิน

(2) ความมีเหตุผล : อธิบายได้ ตามหลักวิชา ตามหลักกฎหมาย ตามหลักศีลธรรม ตามกฎเกณฑ์สังคม

(3) ระบบภูมิคุ้มกันตัว 4 ด้าน เหตุปัจจัย  การเปลี่ยนแปลง  เกิดผลกระทบ (1) ด้านวัตถุ (2) ด้านสังคม (3) ด้านสิ่งแวดล้อม (4) ด้านวัฒนธรรม

ภูมิคุ้มกันในปรัชญาแห่งเศรษฐกิจพอเพียงมี 4 ประการ 1. ภูมิคุ้มกันด้านวัตถุ (ด้านเศรษฐกิจ, ด้านการเงิน, ด้านทรัพย์สิน, ฯลฯ) 2. ภูมิคุ้มกันด้านสังคม (ด้านคุณธรรม, ด้านสุขภาพ, ด้านการศึกษา, ฯลฯ) 3. ภูมิคุ้มกันด้านสิ่งแวดล้อม (ด้าน นโยบายสีเขียว, ด้านประหยัดพลังงาน , ด้านการกำจัดขยะ, ฯลฯ) 4. ภูมิคุ้มกันด้านวัฒนธรรม (ด้านวิถีชุม ชุม, ด้านภาษา, ด้านสถาปัตยกรรม, ฯลฯ)

ระบบภูมิคุ้มกันด้านวัตถุ ภูมิคุ้มกันเข้มแข็ง มีเงินออม ประหยัด - เรียบ ง่าย มีการประกันความ เสี่ยง มีการวางแผน ระยะยาว ภูมิคุ้มกันบกพร่อง มีหนี้ไม่ก่อรายได้ ฟุ้งเฟ้อ - ยุ่งยาก ขาดการประกัน ความเสี่ยง ขาดการวางแผน ระยะยาว

ระบบภูมิคุ้มกันด้านสังคม ภูมิคุ้มกันเข้มแข็ง รู้-รัก-สามัคคี มีคุณธรรม “สังคมสีขาว” “อยู่เย็นเป็นสุข” ทุนทางสังคมสูง ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ระแวง-ทะเลาะเบาะ แว้ง ไร้คุณธรรม เยื่อแห่งอบายมุข ทั้งปวง “อยู่ร้อนนอนทุกข์” ทุนทางสังคมต่ำ

วิธีสร้างภูมิคุ้มกันทางศีลธรรมแก่ลูกหลาน 1. ฐานเครือญาติที่มั่นคง 2. คำสอนของครอบครัว / ตระกูล 3. พาลูกเข้าวัด / ศึกษาและปฏิบัติธรรม 4. สอนลูกให้ (1) รู้จักคุณค่าของเงิน (2) รู้จักใช้จ่ายเงิน และ (3) ออมและทำบุญ 5. ฝึก “ใจ” ให้เข้มแข็งยิ่งๆ ขึ้น - ปฏิเสธความชั่ว / ยึดมั่นความดี

ระบบภูมิคุ้มกันด้านสิ่งแวดล้อม ภูมิคุ้มกันเข้มแข็ง มีความรู้ และสำนึก สร้าง “สุขนิสัย” สะอาด-เป็นระเบียบ อยู่กับธรรมชาติ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ขาดความรู้ – ขาด สำนึก เต็มไปด้วย “ทุกขนิสัย” สกปรก – ขาด ระเบียบ ทำลายธรรมชาติ

ระบบภูมิคุ้มกันด้านวัฒนธรรม ภูมิคุ้มกันเข้มแข็ง มั่นคงใน วัฒนธรรมไทย และเชิดชู วัฒนธรรมท้องถิ่น เข้าใจและเป็นมิตร ต่อวัฒนธรรมต่าง ถิ่นต่างชาติ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ย่อหย่อน – ไม่ ใส่ใจ – รู้สึกเป็น ปมด้อยใน วัฒนธรรมไทย – วัฒนธรรมท้องถิ่น เหยียดหยาม - มุ่งร้ายต่อต่าง วัฒนธรรม

กลไกในการสร้างระบบภูมิคุ้มกัน มิติ ตัวชี้วัด เป้าหมาย แผน-ปฏิบัติ-ประเมิน 1. ด้านวัตถุ 2. ด้านสังคม 3. ด้านสิ่งแวดล้อม 4. ด้านวัฒนธรรม

บัญชีส่วนตัว / บัญชีครัวเรือน รายรับ รายจ่าย 1. 2. 3. * สัมมาอาชีวะ * พอประมาณ และมีเหตุผล * เพิ่มรายรับ * ลดรายจ่าย

ความพอเพียง สามองค์ประกอบ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ มีภูมิคุ้มกันในตัว 4 ด้าน ความมีเหตุผล

ปูพื้นฐานด้วยเงื่อนไข 3 ประการ 1. เงื่อนไขในการใช้วิชา ความรู้ 2. เงื่อนไขในการสร้าง คุณธรรม 3. เงื่อนไขในการใช้ชีวิตด้วย ความเพียร

เงื่อนไขในการใช้ความรู้ “จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ วิชาการต่างๆ มาใช้ในการ วางแผนและการดำเนินการทุก ขั้นตอน”

ทำงานอย่างผู้รู้จริง หลักคิด : จะทำอะไร? เกิด ประโยชน์อะไร หลักวิชา : ทำอย่างไรจึงจะปฏิบัติ ได้ถูกต้อง (ประหยัด – เรียบง่าย – ประโยชน์สูงสุด) หลักปฏิบัติ : ออกแบบวิธีปฏิบัติ ประเมินผล ปรับปรุงตลอดเวลา

2. เงื่อนไขในการสร้างคุณธรรม “ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์ สุจริต”

คุณธรรมหลักขององค์การ ฝ่ายนโยบาย ฝ่ายบริหาร ฝ่ายปฏิบัติ 1. ความซื่อสัตย์ 2. ความรับผิดชอบ 3. มีน้ำใจ

คุณธรรมหลักของสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู – อาจารย์ นักเรียน ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ จิตอาสา

3. เงื่อนไขในการใช้ชีวิต “ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ”

สติ : ความรู้ตัวทั่วพร้อม ปัญญา : ความรู้แจ้งแทงตลอด ความรอบคอบ : มององค์รวม พิจารณาครบวงจร เชื่อมโยงทุกภาคี อดทน : ทนต่อความลำบากกาย และใจ ความเพียร : ทำจนสำเร็จ - ชนะ อุปสรรคทั้งปวง

สามเงื่อนไข เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขความเพียร

เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลการปฏิบัติ ตามแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง” ผลการปฏิบัติ ตามแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง” ในภาวะปกติ : ชีวิต – การ งาน – ธุรกิจ จะเกิด “สมดุล” ในภาวะวิกฤต : บุคคล – ครอบครัว – องค์การ – ชุมชน – ประเทศชาติ พร้อมรับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ทางสายกลาง - ความพอเพียง มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี พอประมาณ 1. วัตถุ 2. สังคม 3. สิ่งแวดล้อม 4. วัฒนธรรม เงื่อนไขหลักวิชา (ใช้หลักวิชาวางแผน-ปฏิบัติ) เงื่อนไขชีวิต (ขยัน-อดทน-สติ-ปัญญา) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์-มีคุณธรรม) เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร เศรษฐกิจพอเพียงมีกรอบแนวคิดคือ เป็นปรัชญาชี้แนะแนวทางปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น มีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตของสังคมไทย และเป็นการมองโลกเชิงพลวัตร มุ่งเน้นการรอดพ้นจากวิกฤต ดังนั้น เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน บนพื้นฐานของความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง รวมทั้งจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนให้มีสำนึกใน คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญา เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบพื้นฐานกับแบบก้าวหน้า กล่าวคือ - ความพอเพียงในระดับบุคคล/ครอบครัว เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ - ความพอเพียงในระดับชุมชน/ระดับองค์กร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้าซึ่งครอบคลุม ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๒ - ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจ พอเพียงแบบก้าวหน้า ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๓ นำไปสู่ สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง

เศรษฐกิจพอเพียงกับหนทางข้างหน้า ๑. เศรษฐกิจพอเพียงเป็น ปรัชญาที่มีความสำคัญอย่าง ยิ่งสำหรับการขจัดความ ยากจนและการลดความเสี่ยง ทางเศรษฐกิจของคนจน

๒. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นพื้นฐานของการสร้างพลัง อำนาจของชุมชนและการ พัฒนาศักยภาพชุมชนให้ เข้มแข็งเพื่อเป็นฐานรากของ การพัฒนาประเทศ

๓. เศรษฐกิจพอเพียงช่วย ยกระดับความรับผิดชอบต่อ สังคมของบริษัทด้วยการ สร้างข้อปฏิบัติในการทำ ธุรกิจ ที่เน้นผลกำไรระยะ ยาวในบริบทที่มีการแข่งขัน

ทุนนิยมคุณธรรม ทุนนิยมสามานย์ * กำไรพอประมาณ * กำไรสูงสุด ทำตามกฎหมาย ทำตามหลักคุณธรรม รับผิดชอบต่อสังคม รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ผิดหรือเลี่ยงกฎหมาย ไร้ศีลธรรม ทำร้ายสังคม ทำลายสิ่งแวดล้อม บริษัทได้กำไร สังคมได้กำไร (เปรียบผึ้ง – Bee) แต่ถูกสังคมทำลาย (เปรียบตั๊กแตน – Locust)

๔. หลักการเศรษฐกิจพอเพียง ความสำคัญยิ่งต่อการปรับปรุง มาตรฐานของธรรมาภิบาล

๕. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถใช้เป็นแนวทางในการ กำหนดนโยบายของชาติ เพื่อ สร้างภูมิคุ้มกันต่อสถานการณ์ที่ เข้ามากระทบโดยฉับพลัน และ เพื่อปรับปรุงนโยบายต่างๆ ให้ เหมาะสม

เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ของสหประชาชาติ ค.ศ.2016 - 2030 “Sustainable Development Goals : SDG” People- centered approach Human dignity (inclusiveness) Sufficiency Economy Philosophy (SEP) Sufficiency for Sustainability (S4S)

เลี้ยงลูกให้ใช้เงินเป็น ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย

หลักการ 1. ในชีวิตคนเราต้องตัดสินใจเลือกอยู่ ตลอดเวลา หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุผล หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน

2. แยกให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง ตระหนี่ ขี้เหนียว ประหยัด มัธยัสถ์ ฟุ่มเฟือย สุรุ่ยสุร่าย

3. แยกให้เห็นถึงผลได้ผลเสียระหว่าง สุขสุดโต่งวันนี้ และจบแค่นี้ (บริโภคนิยม) สุขตามอัตภาพ และสุขยาวกว่านี้ใน อนาคต (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง)

วิธีการ 1. สอนลูกให้เห็นคุณค่าของเงิน 1. สอนลูกให้เห็นคุณค่าของเงิน มอบค่าใช้จ่ายต่อสัปดาห์ / ต่อเดือน ให้ลูกจัดการ ส่งเสริมให้ทำงานแลกเงิน

2. สอนลูกให้รู้จักใช้เงิน ให้ลูกทำบัญชีรายรับรายจ่าย วิเคราะห์เหตุผลกับลูกในรายจ่ายต่างๆ

3. สอนให้ลูกมีเงินเหลือจ่าย ออมไว้ในอนาคต แบ่งส่วนหนึ่งบริจาคงานกุศล / สาธารณะ