วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่ง DISPLAY รูปแบบที่ 1 DISPLAY identifier-1, identifier-2 … literal-1 literal-2 [ UPON mnemonic-name ]  ตัวอย่าง DISPLAY STUDENT-NAME. DISPLAY.
Advertisements

ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ระดับความรุนแรงของความเสี่ยง (Severity)
เป็นโปรแกรมใหม่ มี 2 ชุด ดังนี้ 1. การคัดเลือกข้อมูลสถิติคน และบ้านจาก ทะเบียนบ้าน แยกตามถนน / ซอย / ตรอก 2. การตรวจสอบข้อมูลสถิติ คนและบ้านจากทะเบียนบ้าน.
Lecture 3 ฟอร์ม, คอนโทรล. Initial Visual Basic Screen.
1 จอแบบไหนกินไฟ มากกว่ากัน …. ? นิ้ว CRT จอภาพ = 60 วัตต์ตัวเครื่อง = 80 รวม =140 วัตต์ 17 นิ้ว LCD จอภาพ = 30 วัตต์ รวม =110 วัตต์
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา “ กระดานอัจฉริยะ ”
การใช้เครื่องมือในระบบการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
แผนงานที่ 3 : ลดการละเมิดการใช้ไฟฟ้า/มิเตอร์ชำรุด
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
คำนำ รายงานเรื่องนี้เป็นได้รวบรวมวิธีการตีเส้นโครงสร้างพื้นที่เป็นแบบแผ่นพื้นสำเร็จและติดตั้งผนังหล่อสำเร็จภายในและภายนอกเท่านั้น เนื้อหาหลักจะแบ่งเป็นการตีเส้นก่อนเท.
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
การดำเนินงานสาธารณสุขชายแดน ไทย- สปป.ลาว จังหวัดน่าน
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
คุณค่า ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
CEPS-ECRI, Place du Congrès, 1000 Brussels
หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข นางอรวรรณ ดวงจันทร์ สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 28 ธันวาคม 2559 ณ.โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น.
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
รายรับ ของรัฐ อาจารย์สอง Satit UP.
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
Rabbi อาจารย์สอง Satit UP.
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก 
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
4 กรกฎาคม 2556 ณ.โรงแรมเอเซีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
การอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง
CGI Learning Center สถิติการปฏิบัติงาน Fact & Figures
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลสมุทรปราการ ประสบการณ์ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในโรงพยาบาลสมุทรปราการ

โรงพยาบาลสมุทรปราการ การบริหารจัดการ การเก็บข้อมูล กลุ่มIDU ตั้งแต่ปี 2554 กลุ่ม DU ต้นปี2556

โรงพยาบาลสมุทรปราการ วิธีการเก็บข้อมูล ประชุมเจ้าหน้าที่ในกลุ่มงาน ทำเอกสาร(แบบบันทึก harm 1 harm2) นำเอกสารเข้าในระบบ รับใหม่ จำหน่าย ติดตาม IDU รับใหม่เก็บ harm 1และ2 ติดตาม harm 2ทุก 6 เดือน และเมื่อจำหน่าย ส่งต่อ 2

โรงพยาบาลสมุทรปราการ DU รับใหม่ เก็บ harm1 harm 2 ติดตาม harm 2 เมื่อ จำหน่าย ส่งต่อ หลังจำหน่ายติดตามทุก 6 เดือน เจ้าหน้าที่ที่ปฎิบัติงานเป็นผู้เก็บข้อมูล ข้อมูลเก็บในแฟ้มผู้ป่วยแต่ละราย

โรงพยาบาลสมุทรปราการ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ keyข้อมูลในโปรแกรมภายหลัง ตรวจเช็คข้อมูลในฐานข้อมูล ส่งไฟล์ข้อมูลให้ส่วนกลาง

โรงพยาบาลสมุทรปราการ ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 1ต.ล 2555ถึงปัจจุบัน

โรงพยาบาลสมุทรปราการ การจัดการภายในองค์กร โครงสร้างงานเดิม สร้างความเข้าใจ ขอความร่วมมือ มีคนรับผิดชอบ

การติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในหน่วยบริการ โรงพยาบาลสมุทรปราการ เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 ฝ่ายพัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์

ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ผู้ใช้ยาเสพติดที่มารับบริการทั้งสิ้น 83 ราย IDU = 24 ราย (28.9%) และ Non IDU = 59 ราย (71.1%) ข้อมูล IDU Non-IDU จำนวน ร้อยละ เพศชาย 20 83.3 53 89.8 เพศหญิง 4 16.7 6 10.2 ผู้มารับบริการเคยมีประวัติการบำบัดยาเสพติด ก่อนเข้ารับบริการ 24 100 2 3.39

และฉีดยาเสพติดมาเป็นระยะเวลานานประมาณ 21 ปี ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ จำแนกตามกลุ่มอายุ และวิธีการใช้ยา/สารเสพติด % ปี มีอายุตั้งแต่ 14 – 66 ปี ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 29.9 ปี (16-68 ปี) โดยเฉลี่ยผู้ใช้/สารเสพติดเริ่มใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดครั้งแรกเมื่ออายุ 20 ปี และฉีดยาเสพติดมาเป็นระยะเวลานานประมาณ 21 ปี

ยา/ สารเสพติดที่เคยใช้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้ารับบริการในครั้งนี้ ยา/ สารเสพติดที่เคยใช้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้ารับบริการในครั้งนี้ 27% ของ IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด ชนิดยาเสพติดที่ใช้ฉีดมากสุด 3 อันดับ ได้แก่ เฮโรอีน (91.7%) ฝิ่น (50%) มอร์ฟีน และยาบ้า (4.2%) 14% ของ Non IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด ชนิดยาเสพติดที่ใช้มากสุด 3 อันดับ ได้แก่ ยาบ้า (78%) กัญชา (27.1%) และมอร์ฟีน (15.3%)

พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการใช้ยา/สารเสพติด N

ร้อยละของพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ และ การใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด %

ความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีที่ตอบได้ถูกต้อง ของผู้ใช้ยาเสพติดที่มารับบริการ %

สถานการณ์เอชไอวีในผู้ใช้ยา/สารเสพติด ในโรงพยาบาลสมุทรปราการ คน เติม N

ร้อยละการให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556

การตรวจคัดกรองสุขภาพของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 Screen IDU (N = 23) Non-IDU (N=59) Screen TB 16 1 TB infected Screen STI 11 2 STI infected Screen HBV 12 HBV infected 5 Screen HCV HCV infected

โรงพยาบาลสมุทรปราการ การพัฒนาระบบการเก็บข้อมูลและการนำมาใช้ประโยชน์ ควรเชื่อมประสานเข้าในระบบฐานข้อมูลหลัก เช่น บสต. พัมนาเป็นระบบบันทึกข้อมูลon line เพิ่มการบันทึกข้อมูลที่เป็นระบบรายงานของแต่ละหน่วยงานเพื่อทำเป็นระบบฐานข้อมูลเดียว จากNeed ของหน่วยงาน และพัฒนาร่วมเฉพาะหน่วยงาน

โรงพยาบาลสมุทรปราการ หน่วยงานสามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งในระดับหน่วยงาน จังหวัด ประเทศ มีระบบการ check up และยืนยันข้อมูล เพื่อลดการผิดพลาดของการลงข้อมูล ผลักดันให้เป็นระบบบันทึกและรายงานข้อมูลในระบบบำบัดยาเสพติดของกระทรวง