ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ การบริหารโรงเรียนโดยใช้เกณฑ์รางวัลคุณภาพ แห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
เกณฑ์บริหารคุณภาพ OBECQA หมวดที่ 5 บุคลากร
5.1 สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.2 ความผูกพันของบุคลากร 5.1 สภาพแวดล้อมในการทำงาน ก.ความผูกพันและผลการปฎิบัติงานของบุคลากร ก.ขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร (1)ขีดความสามารถและอัตรากำลัง (2)บุคลากรใหม่ (3)ความสำเร็จในงาน (4)การจัดการความเปลี่ยนแปลง (1)วัฒนธรรมองค์กร (2)ปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพัน (3)การประเมินความผูกพัน (4)การจัดผลการปฎิบัติงาน ข.บรรยากาศการทำงานของบุคลากร ข.การพัฒนาบุคลากรและผู้นำ (1)สภาพแวดล้อมของการทำงาน (2)นโยบายและสิทธิประโยชน์ (1.)ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา (2.)ประสิทธิผลของการเรียนรู้และพัฒนา (3.)ความก้าวหน้าในวิชาชีพ
สรุปหมวดที่ 5 มี 2 หัวข้อ คือ 5. 1 5 สรุปหมวดที่ 5 มี 2 หัวข้อ คือ 5.1 5.2 มี 4 ประเด็นพิจารณา มี 13 หัวข้อย่อย
ลักษณะคำถามของเกณฑ์เป็น What How
การตอบคำถาม How ในหมวดที1-6 A - Approach แนวทาง D - Deployment การปฏิบัติ L - Learning การเรียนรู้ I - Integration การบูรณาการ
ตัวอย่างการตอบข้อกำหนดของเกณฑ์
ตัวอย่าง 5.1 ข.บรรยากาศการทำงานของบุคลากร ข (1) สภาพแวดล้อมของการทำงาน ข (1) สภาพแวดล้อมของการทำงาน คำถาม : โรงเรียนดำเนินการอย่างไร เกี่ยวกับการสร้างความมั่นใจ ด้านสุขภาพ สวัสดิภาพของบุคลากรและ ความสะดวกในการเข้าถึงสถานที่ทำงานของบุคลากร 1. สำรวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการพื้นฐานด้าน สภาพแวดล้อมในการทำงานของครู บุคลากร 2. จัดตั้งคณะกรรมการที่จะพัฒนาสภาพแวดล้อมการทำงานด้านความ ปลอดภัย ด้านการป้องกันภัยในสถานศึกษา ด้านการส่งเสริมสุขภาพ อนามัย ด้านบรรยากาศในการทำงาน ด้านจัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็น สำหรับการปฏิบัติงาน 3. ดำเนินตามโครงการ/กิจกรรม ภายใต้งานประจำตามโครงสร้างการ บริหารและแผนปฏิบัติการประจำปี (เชื่อมโยงไปยังโครงร่างองค์กร หมวด 2.1 ก (4))
4. กำหนดตัวชี้วัด เป้าประสงค์แต่ละด้านของปัจจัยด้าน สภาพแวดล้อม เพื่อเป็นกรอบ ในการดำเนินการและการประเมินผล 5. ประเมินผลการดำเนินงาน ตามระบบการประเมินผล ของโรงเรียน และประเมินความพึงพอใจของครูบุคลากร ต่อสภาพแวดล้อมการทำงาน ดังปรากฏเป็นผลลัพธ์ใน 7.3 ก(2) ) 6. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทบทวนกระบวนการพัฒนา สภาพแวดล้อมของการทำงานของบุคลากรเพื่อนำไป พัฒนา/ปรับปรุง
ประเด็นปัญหาจากการตรวจประเมิน 1. การดำเนินงานของโรงเรียนยังไม่เป็นระบบมี ขั้นตอนหรือวงจรที่ทำซ้ำได้ในรอบต่อไปจน สามารถพัฒนาต่อยอดเป็นนวัตกรรม 2. ความไม่เข้าใจนิยามศัพท์ของเกณฑ์เช่น วัฒนธรรม ความผูกพัน ขีดความสามารถ เป็นต้น 3. ในหมวดที่5 บุคลากร การจัดกลุ่มประเภทของ บุคลากรตามความแตกต่าง ไม่ชัดเจน
ประเด็นที่เป็นปัญหาจากการตรวจประเมิน(ต่อ) 4. การเขียนรายงานการดำเนินงานในหมวดที่ 1 – 6 ด้านกระบวนการต้องตอบคำถามว่า โรงเรียนมี วิธีการอย่างไร (HOW) ต้องตอบเป็น A-D-L-I แต่ ส่วนใหญ่เขียนบรรยายเป็นกิจกรรมที่โรงเรียน ดำเนินการ 5. การนำเสนอผลลัพธ์หมวดที่ 7 มีการนำเสนอ เป็นสถิติ ในรูปแบบของกราฟแท่ง กราฟเส้น ตาราง แต่ยังไม่สมบูรณ์ตามวงจรการประเมิน Le- T-C-I โดยตัวชี้วัดที่เป็นผลลัพธ์ไม่เชื่อมโยงและสอดคล้อง กับหมวดที่ 1-6 ที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหารต้องเป็นผู้นำในการขับเคลื่อน สู่ความสำเร็จแห่ง OBECQA
บันได ๘ขั้นสู่ความสำเร็จแห่ง OBECQA ๗ จัดทำรายงานเพื่อขอรับการประเมิน SCQA ๖ ประเมินตนเองเอตามแนวทางการประเมินของOBECQA ดำเนินงานพัฒนาโดยใช้เกณฑ์เป็นกรอบหลัก ๕ ๔ วิเคราะห์สภาพปัจจุบันเทียบกับเกณฑ์ ๓ สร้างความมีส่วนร่วมของบุคลากร ๒ ๑ ศึกษาทำความเข้าใจกับเกณฑ์ OBECQA แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารคุณภาพ กำหนดนโยบายเป้าหมาย/ทิศทางของการพัฒนา
๗ ปัจจัยแห่งวามสำเร็จของ OBECQA คุณภาพโรงเรียน ๗.ระบบสารสนเทศ คุณภาพนักเรียน ๖.คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพครูและบุคลากร ๕.การสร้างแรงจูงใจในการทำงาน ๔.การเรียนรู้ขององค์กรและบุคคล ๗ ๓.การทำงานเป็นทีม ๗ ปัจจัยแห่งวามสำเร็จของ OBECQA บริหารเยี่ยม ๒.ภาวะผู้นำของผู้บริหาร ๑.การจัดโครงสร้างการบริหารคุณภาพ