การนำงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ขึ้น Dspace และ Google Scholar วันพฤหัสบดีที่ 17 กุมภาพันธ์ 2562 สำนักดิจิทัลเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ อาจารย์ อำนาจ โกวรรณ ผู้อำนวยการสำนักดิจิทัลเพื่อการศึกษา อาจารย์ ดร.ทิวาวัลย์ ต๊ะการ รองผู้อำนวยการสำนักดิจิทัลเพื่อการศึกษา
การจัดอันดับ Webometric แสดงถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ในเว็บไซต์ของสถานศึกษาทั่วโลก (E-University) เริ่มในปี 2004 โดย Cybermetrics Lab (กลุ่มสภาวิจัยแห่งชาติของประเทศสเปน) ประกาศผลการจัดอันดับเว็บไซต์ 2 ครั้งต่อปี คือ มกราคม และ กรกฎาคม สภามหาวิทยาลัยมีมติให้มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กำกับ ติดตามอันดับ Webometric ของมหาวิทยาลัย ให้อยู่ในอันดับที่ดี
ผลการจัดอันดับ Webometric (มกราคม 2562) Rajabhat ranking World Rank University Presence Rank* (5%) Impact Rank* (50%) Openness Rank* (10%) Excellence Rank*(35%) 1 22 2986 Suan Sunandha Rajabhat University 942 1522 3480 4551 2 26 3354 Nakhon Pathom Rajabhat University 2408 3563 4111 4187 3 36 4709 Buriram Rajabhat University 1252 766 11055 6017 4 38 4916 Pibulsongkram Rajabhat University 2122 3169 4599 5 39 4976 Chiang Mai Rajabhat University 2160 3371 4437 Openness จำนวนการอ้างอิงจากนักเขียนยอดนิยมตามแหล่งที่มา ดูจากการจัดอันดับใส่สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม สืบค้นได้จาก google scholar,Citations
Google Scholar คือ ส่วนบริการเสริมของ Google ที่รวบรวมบทความทาง วิชาการ และจํานวนบทความทางวิชาการที่ถูกอ้างอิงของ นักวิชาการ ซึ่งสามารถถูกสืบค้นได้โดย Google นักวิชาการสามารถใช้อีเมลของตนเองในการยืนยัน สถานะนักวิชาการ สถาบัน ความเป็นเจ้าของบทความ และ จํานวนบทความที่ถูกอ้างอิงของตนเอง จํานวนบทความทางวิชาการ และจํานวนบทความทาง วิชาการที่ถูกอ้างอิงจะปรากฏในนามของมหาวิทยาลัยโดยรวม (การใช้อีเมลของมหาวิทยาลัย จะทำให้การสืบค้น สถานะนักวิชาการง่ายขึ้น) เป็นตัวชี้วัดที่สําคัญสําหรับการจัดอันดับคุณภาพของมหาวิทยาลัย
ผลการจัดอันดับ Google Scholar Citation (มกราคม 2562) ตารางที่ 2 TRANSPARENT RANKING: Top Universities by Google Scholar Citations (June 2018) Suan Sunandha Rajabhat University Thailand 6463 Phetchaburi Rajabhat University 6334 Nakhon Pathom Rajabhat University 4188 Chiang Mai Rajabhat University 3321 Pibulsongkram Rajabhat University 2973
การสมัครใช้ Google Scholar ต้องมีอีเมล @cmru.ac.th หรือ @g.cmru.ac.th ติดต่อขออีเมลได้ที่ คุณอานนท์ มะโนเมือง 053-885933 การตั้งชื่อ ให้ตั้งชื่อสกุล เป็นภาษาอังกฤษ สังกัด : Chiang Mai Rajabhat University ควรใช้ อีเมลของมหาวิทยาลัยในบทความวิชาการที่ส่งตีพิมพ์ Download คู่มือการสมัครและการใช้งาน Google Scholar อยู่ที่ http://www.research.cmru.ac.th/research59/ > คู่มือ > ขั้นตอนการสมัคร google scholar
Dspace การใช้งาน CMRUIR ซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับการจัดการความรู้ (Knowledge Management System: KM) หรืออาจจะเรียกว่า “DSpace คลังสมองการจัดการความรู้” CMRUIR เป็น เว็บไซต์ Dspace ของมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ในการเผยแพร่งานวิจัยฉบับสมบูรณ์ บทความทางวิชาการของวารสารของมหาวิทยาลัย เช่น พิฆเณศวร์สาร วารสารสถาบันวิจัย ตำรา ภาคนิพนธ์ของนักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย เป็นต้น เป็นช่องทางในการเผยแพร่ผลงานของนักวิจัยทางเว็บไซต์ เพื่อให้ Google Scholar สามารถค้นหาผลงานของนักวิจัยไปเก็บไว้สำหรับให้นักวิจัยจากทั่วโลกใช้ในการสืบค้น และการอ้างอิงผลงาน
cmruir.cmru.ac.th
การนำงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เข้าสู่ Dspace แบ่งไฟล์ pdf ดังนี้ ปกและกิตติกรรมประกาศ (Cover) บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (Abstract) ควรมีคำสืบค้นด้วย (ไฟล์ word และ pdf) สารบัญ (Content) บทที่ 1 (Chapter1) บทที่ 2 (Chapter2) บทที่ 3 (Chapter3) บทที่ 4 (Chapter4) บทที่ 5 (Chapter5) บรรณานุกรม (Bibliography) ภาคผนวก (Appendix)
การนำงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เข้าสู่ Dspace ใส่ลายน้ำ โดย download ได้จาก www.cmru.ac.th
การใช้งาน CMRUIR ใส่ลายน้ำ และทำ pdf โดยใช้โปรแกรม ด้วย Microsof Word หรือ Foxit PhantomPDF หรือ Acrobat ให้ใส่ชื่อผู้แต่งทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ Download คู่มือการสมัครและการใช้งาน Google Scholar อยู่ที่ http://www.research.cmru.ac.th/research59/ > คู่มือ > การใช้งาน DSpace
การใช้งาน CMRUIR มีข้อสงสัย ติดต่อสอบถามได้ที่ คุณพรรณนิภา ดวงใย 053-885924 ติดต่อขอข้อมูลผู้ใช้และรหัสผ่าน ได้ที่ คุณพรรณนิภา ดวงใย 053-885924 (สำนักดิจิทัลเพื่อการศึกษา) หรือ คุณปรัชญา ไชยวงศ์ 053-885957 (สถาบันวิจัยและพัฒนา) ในปีงบประมาณ 2562 สำนักดิจิทัลเพื่อการศึกษาจะดำเนินการจัดอบรมการใช้งาน google scholar และ Dspace จำนวน 2 ครั้ง
รายชื่องานวิจัยที่ดำเนินการขึ้น CMRUIR www.digital.cmru.ac.th
คำถาม Thank you