สร้างหลักสูตรการอบรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
พลเอก ประสาท สุขเกษตร เลขานุการ รมต.กษ.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สร้างหลักสูตรการอบรม วิทยาศาสตร์การศึกษา สร้างหลักสูตรการอบรม การจัดทำแผนการสอน นางสาวกฤษณา วงษ์วรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี อ้างอิง : คู่มือวิทยาศาสตร์ การศึกษา โดย ศ. พญ.อนงค์ นนทสุต หลักสูตรวิทยากรเชี่ยวชาญ ฯ ศอ.1 เชียงใหม่ ตุ๊หิน ไตรทิพย์ นักวิเคราะห์ นโยบายและแผน ชนพ. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ

ผู้เรียนสามารถนำประสบการณ์การเรียนรู้ มาสร้างหลักสูตร วัตถุประสงค์ ผู้เรียนสามารถนำประสบการณ์การเรียนรู้ มาสร้างหลักสูตร และจัดทำแผนการสอนได้

เนื้อหาวิชา - สรุปรายวิชาวิทยาศาสตร์การศึกษา

สรุปรายวิชาวิทยาศาสตร์การศึกษา ไตรยางค์การศึกษา วัตถุประสงค์การศึกษา ประสบการณ์การเรียนรู้ ประเมินผล แผนการเรียนการสอน

1ไตรยางค์การศึกษา องค์ประกอบของไตรยางค์การศึกษา ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบไตรยางค์การศึกษา วัตถุประสงค์ วิธีการสอน ประเมินผล เนื้อหา ประสบการณ์ การเรียนรู้

2วัตถุประสงค์การศึกษา 2.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (เฉพาะเจาะจง) -วัดผลได้ชัดเจน ถูกต้อง 1.วัตถุประสงค์การเรียนรู้ทั่วไป หมวด1 : ปัญญา มีระดับความจำ เข้าใจ และแก้ปัญหา หมวด 2 : ทักษะ มีระดับเลียนแบบ ควบคุมได้ด้วยตนเอง ทำโดยอัตโนมัติ หมวด 3 : เจตคติ มีระดับรับรู้ ตอบสนอง และเกิดเป็นนิสัย หลักการเขียน ใคร -ผู้เรียน (A=Audience) ทำอะไร-พฤติกรรมที่แสดงผลการเรียนรู้(B = Behavior, terminal) ภายใต้สภาพการณ์-เงื่อนไขหรือสภาพการณ์ที่กำหนดการเรียนรู้ (C=Condition) ขีดความสามารถแค่ไหน-เกณฑ์ความสามารถ (D = Degree of acceptable performance)

หมวดปัญญา ภายหลังได้ศึกษา “ความหมายและความสำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์” แล้วผู้เรียนสามารถ -บอกความหมายของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ได้ -อธิบายประโยชน์ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มาใช้ พฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกเป็นความสามารถในด้านการใช้ ความคิด สติปัญญา ความจำ (ใช้ Head) คือปัญญาพิสัย ( Cognitive Domain)

หมวดทักษะ -ผู้เรียนสามารถสานตะกร้าได้อย่างสวยงามโดยใช้ผักตบชวาเป็นวัสดุสำคัญ -ผู้เรียนสามารถแกะสลักไม้ให้เป็นโต๊ะรับแขกได้อย่างสวยงาม พฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกเป็นความสามารถในด้านหัตถการ คือใช้ กล้ามเนื้อ ข้อต่อ การเคลื่อนไหว ประสาทสัมผัส(Hand) เด่นกว่าการใช้ความสามารถทางด้านความจำ จึงเป็นทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)

หมวดเจตคติ -ผู้เรียนเก็บรักษาเครื่องใช้ในการจักสาน แกะสลัก ภายหลังใช้งานทุกครั้ง ด้วยความระมัดระวัง ผู้เรียนแสดงออกแล้วผู้สังเกต สามารถแปลผลว่าผู้เรียน เห็นความสำคัญ เป็นห่วงใย เครื่องมือเครื่องใช้ ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่บ่งถึงความรู้สึกหรือเจตคติ (Heart) จึงเป็นเจตคติพิสัย ( Affective Domain)

ตัวอย่าง แก่กลุ่มบุคคล องค์กรอื่น -ผู้เรียนสามารถ อธิบายประโยชน์ที่ได้จากการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (พฤติกรรม) -ผู้เรียนสามารถเข้าใจหลักการให้บริการสาธารณสุขทั้งด้านการป้องกันโรคส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาล (ทั่วไป) “ผู้เรียนสามารถแสดงขั้นตอนการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ให้แก่กลุ่มบุคคลในองค์กรอื่นได้อย่างถูกต้องทุกขั้นตอน” ใครเป็นผู้แสดงความสามารถหรือพฤติกรรมที่สังเกตหรือวัดได้ ผู้เรียน พฤติกรรมที่แสดงความสามารถที่วัดหรือสังเกตได้คือ แนะนำวิธีการสร้างแผนที่ เงื่อนไขหรือสถานการณ์ในการแสดงความสามารถคือ แก่กลุ่มบุคคล องค์กรอื่น ระดับของความสามารถคือ ถูกต้องทุกขั้นตอน ตัวอย่าง

3ประสบการณ์การเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนการสอน) คำนึงถึง : ความพร้อม ความถนัดของผู้เรียน/แรงจูงใจให้เกิดความอยากเรียน/บรรยากาศขณะเรียน/การมีส่วนร่วมในกิจกรรม/การได้รู้ผลความก้าวหน้าของการเรียน วิธีการสอน ด้านปัญญา ด้านทักษะ ด้านเจตคติ -ประเพณีนิยม -ประสบการณ์ตรง คิด/สังเกต/พิสูจน์ ดูการกระทำ ฝึกทำด้วยตนเอง ประเมินผลตนเอง เลียนแบบโดย ได้รับคำชมเชย ปฏิบัติจนเป็นนิสัย

“การประเมินผล = การวัดผล + การตัดสินผล” 4การประเมินผล “การประเมินผล = การวัดผล + การตัดสินผล” ข้อสอบแบบปรนัยที่นิยมกัน ๕ แบบ แบบมีตัวเลือกที่เป็นคำตอบที่ถูกต้องเพียงตัวเดียว แบบมีคำตอบที่ถูกต้องตัวเลือกเดียวหรือหลายตัวก็ได้ แบบจับคู่ แบบ check list แบบถูก ผิด

5แผนการเรียนการสอน ประโยชน์ของแผนการสอน หลักสูตร : แม่บทที่รวมกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท ประกอบด้วย เป้าหมายที่เกี่ยวกับความสามารถของผู้เรียน/ วัตถุประสงค์ทั่วไป/เนื้อหาวิชาโดยส่วนรวม/วิธีการสอน / การประเมินผล/การบริหารหลักสูตร ประโยชน์ของแผนการสอน ทราบลักษณะของผู้เรียนก่อนสอน ทำให้ผู้สอนตัดสินใจได้ว่าจะสอนแค่ไหน เลือกเนื้อหาพอเหมาะพอดี และตรงกับวัตถุประสงค์ เลือกวิธีการสอนและสื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ทดสอบก่อนและหลังการสอนทำให้ รู้ความรู้พื้นฐาน วัดความก้าวหน้าในช่วงระยะเวลาที่สอนได้ ผู้สอนประเมินผลตนเองได้ ประเมินผลได้ตามวัตถุประสงค์ สอนแทนกันได้

องค์ประกอบแผนการสอน หัวข้อวิชา ลักษณะผู้เรียน วัตถุประสงค์ ประสบการณ์การเรียนรู้ 4.1 เนื้อหา 4.2 วิธีการสอน 4.3 ระยะเวลา 4.4 สื่อการสอน 5. การประเมินผล

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง แผนการสอน หัวข้อ................................................................................................. ลักษณะของผู้เรียน............................................................................. วัตถุประสงค์...................................................................................... ประสบการณ์การเรียนรู้ ประกอบด้วย (กิจกรรมการเรียนการสอน) 1. ....................................................................................................... 2. ....................................................................................................... 3. ....................................................................................................... 4. ....................................................................................................... การประเมินผล................................................................................... วิทยาศาสตร์การศึกษา วิทยากรกลาง รพ.สต. เขียนแสดงขั้นตอนการสร้างแผนการสอนได้ วิธีการเรียน เนื้อหาต่างๆ ระยะเวลาช่วงต่างๆ สื่อการศึกษา จากการทำแบบฝึกหัด

ตัวอย่าง แผนการสอน :วิชา วิทยาศาสตร์การศึกษา ตัวอย่าง แผนการสอน :วิชา วิทยาศาสตร์การศึกษา สำหรับ : ทีมวิทยากรการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ทั่วไป :ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้และเข้าใจในองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของไตรยางค์การศึกษาได้ วัตถุประสงค์ เฉพาะ เนื้อหาวิชา Method (วิธีการสอน) สื่อ เวลา (นาที) ประเมิน ผู้สอน ผู้เรียน 1. ผู้เรียนสามารถ บอกองค์ประกอบ ของไตรยางค์ การศึกษาได้ ถูกต้อง - องค์ประกอบ ไตรยางค์ การศึกษา - ให้ผู้เรียนทำ Pre-test - ตอบคำถามใน Pre-test ( ใบงานที่ 1) - แบบ Pre-test ( ใบงานที่ 1) 15 - บอกไตรยางค์การศึกษาได้ (จากใบงาน)ถูกต้อง 2. ผู้เรียนสามารถ อธิบาย ความสัมพันธ์ของ ไตรยางค์ การศึกษาได้ ถูกต้อง - ความสัมพันธ์ ของ ไตรยางค์ การศึกษาของแต่ ละองค์ประกอบ - ให้ผู้เรียนศึกษา ความสัมพันธ์ของ ไตรยางค์ การศึกษา - สุ่มผู้เรียน อธิบาย ความสัมพันธ์ของ ไตรยางค์ การศึกษาสรุป ความสัมพันธ์ของ ไตรยางค์ การศึกษา - ศึกษา ความสัมพันธ์ของ ไตรยางค์ การศึกษา อธิบาย ความสัมพันธ์ของ ไตรยางค์ การศึกษาได้ถูก - เอกสาร ประกอบการอบรม 20 - อธิบายความสัมพันธ์ของ ไตรยางค์การศึกษาได้ ถูกต้อง

ภารกิจ ชื่อกิจกรรม/หลักสูตร อบรมวิทยากรการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการ จัดการค่ากลางในพื้นที่ (เขต/จังหวัด/อำเภอ/ ตำบล)............ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย............................ ระยะเวลา............................................

กำหนดการอบรมวิทยากร “การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการจัดการค่ากลาง(ครู ก)” ภาคกลาง วันที่ 7 พ.ย. 59 วันที่ 8 พ.ย. 59 วันที่ 9 พ.ย. 59 -กลไกการขับเคลื่อน/แผนการขยายงานการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง -การประเมินศักยภาพชุมชน -การสร้างนวัตกรรมสังคม -ตำบลจัดการสุขภาพตามแนวทางการสาธารณสุขมูลฐาน -การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยง -วิทยาศาสตร์การศึกษา/การจัดทำหลักสูตรและแผนการสอน -วิวัฒนาการของการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการและค่ากลาง -การบูรณาการและการสร้างโครงการด้วยค่ากลาง -PERT & mile stone -การจัดการสุขภาพด้วยค่ากลาง การค้นหาค่ากลาง/วิเคราะห์ความสัมพันธ์

ใบงานที่1 กำหนดการอบรม อบรมวิทยากรการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการจัดการค่ากลางในพื้นที่............ กลุ่มเป้าหมาย................................................. ระยะเวลา ............................................... วัน/เวลา กิจกรรม โดย  

ใบงานที่2 แผนการสอน : ................................................. วิชาย่อย : ........................................................ สำหรับ : .......................................................   วัตถุประสงค์ เนื้อหา วิธีการสอน สื่อการสอน เวลา (นาที) การประเมิน ผู้สอน ผู้เรียน