การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.) หน่วยระบาดวิทยา คณะเเพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การจัดการข้อมูล การเก็บและบันทึกข้อมูล การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล เครื่องมือสำหรับการจัดการข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล
การเก็บและบันทึกข้อมูล การเก็บข้อมูล การสังเกตการณ์ (Observation) ใช้การสังเกตโดยตรงจากปฏิกิริยา ท่าทาง หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง และจดบันทึกไว้โดยไม่มีการสัมภาษณ์ วิธีการวัด ใช้อุปกรณ์ในการวัดตามความเหมาะสม การทำแบบสอบถามชนิดให้ผู้ตอบกรอกข้อมูลเอง (Self-administered questionnaire) ให้กับผู้ตอบกรอกแบบสอบถามเอง โดยอธิบายถึงวิธีการกรอกที่จำเป็น แบบสอบถามที่ใช้ต้องมีคำถามที่เข้าใจง่าย มีคำอธิบายชัดเจน
การเก็บและบันทึกข้อมูล การเก็บข้อมูล การสัมภาษณ์จากผู้ให้คำตอบโดยตรง (Face to face interview) มีเจ้าหน้าที่ออกไปสัมภาษณ์ เป็นวิธีการที่จะทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เพราะผู้สัมภาษณ์สามารถอธิบายให้ผู้ตอบเข้าใจคำถามได้ นิยมใช้ในการสำรวจและการทำสำมะโนประชากร การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (Telephone interview) ทำได้รวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง คำถามต้องสั้น เข้าใจง่าย มีจำนวนไม่มากนัก
การเก็บและบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูล กระดาษ แบบสอบถาม แบบบันทึกข้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเก็บและบันทึกข้อมูล ตัวอย่างแบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล วิธีการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล ความครบถ้วนของข้อมูล ตรวจสอบรายการข้อคำถามต่างๆ ในแบบสอบถามว่าได้มีการบันทึกครบถ้วนทุกรายการที่กำหนดหรือไม่ ตัวอย่าง เพศ [] ชาย อายุ 24 ปี ศาสนา [ ] พุทธ [ ] คริสต์ [ ] อิสลาม
การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล วิธีการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล ความถูกต้อง ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกอยู่ในแบบสอบถามว่ามีความถูกต้องหรือไม่ ตัวอย่าง อายุ 14 ปี ระดับการศึกษา [ ] ประถมศึกษา [ ] มัธยมศึกษา [] ปริญญาตรี [ ] ปริญญาโท
เครื่องมือสำหรับจัดการข้อมูล: Microsoft Excel + ใช้งานง่าย - ไม่เหมาะในการป้อนข้อมูล เพราะเสี่ยงต่อการผิดพลาดได้ง่าย
เครื่องมือสำหรับจัดการข้อมูล: Microsoft Access + สามารถจัดการข้อมูลขนาดใหญ่แบบฐานข้อมูล - ผู้ใช้ควรมีความรู้ในเรื่องระบบฐานข้อมูล
เครื่องมือสำหรับจัดการข้อมูล: EpiInfo + สามารถออกแบบแบบบันทึกข้อมูลที่คล้ายคลึงกับแบบสอบถาม + การวิเคราะห์ข้อมูล การทำงานแบบภูมิสารสนเทศ GIS
เครื่องมือสำหรับจัดการข้อมูล EpiData + สามารถตรวจสอบความถูกต้องในการป้อนข้อมูลได้ (Legal range check, double data entry validation)
เครื่องมือสำหรับจัดการข้อมูล EpiData การเปรียบเทียบของข้อมูล 2 ไฟล์ เพื่อหาความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูล
เครื่องมือสำหรับจัดการข้อมูล EpiData
การจัดการฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (Database: DB) หมายถึง ชุดของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ที่ถูกนำมาจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพการสอบถามข้อมูล เช่น ฐานข้อมูล 12 แฟ้ม และ 8 แฟ้ม ในโรงพยาบาล หรือฐานข้อมูล 18 แฟ้ม ในสถานีอนามัย
การจัดการฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database management system: DBMS) เป็นตัวกลางที่ทำหน้าที่ในการแปลความต้องการของผู้ใช้ ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถทำงานได้ตามความต้องการ เช่น MySQL, SQL Server, Oracle, Microsoft Access ฯลฯ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้ ระบบจัดการฐานข้อมูล และฐานข้อมูล (ที่มา: http://catkm.cattelecom.com/)
หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล จัดการพจนานุกรมข้อมูล จัดการแหล่งจัดเก็บข้อมูล เปลี่ยนรูปแบบและการแสดงผลข้อมูล จัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูล DBMS ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ สำรองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล จัดการด้านบูรณภาพของข้อมูล มีภาษาสำหรับจัดการข้อมูล เป็นส่วนประสานกับผู้ใช้ในด้านการสื่อสารฐานข้อมูล