บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
ที่มา หลักการและ เหตุผล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) สามารถทำ ให้การแบ่งปันความรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพราะนอกจากจะ ทำให้เราประหยัดเวลาและสามารถทำลายกำแพงต่างๆ.
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การจัดการการ ขนส่ง เป้าหมายของการจัดการ การขนส่ง 1) เพื่อลดต้นทุน 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน 3) เพื่อสร้างความพึงพอใจ สูงสุดให้แก่ลูกค้า 4) เพื่อลดระยะเวลา.
เงินเฟ้อ Inflation.
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ความเค้นและความเครียด
การบริหารโครงการ Project Management
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
รายงาน การปฏิวัติอุตสาหกรรม
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Marketing.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
ธุรกิจแฟรนไชส์. ธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไซส์ แฟรนไชส์ (Franchise)  เป็นคำศัพท์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส  คือ " Franchir " แปลว่า  " สิทธิพิเศษ " สิทธิพิเศษที่บริษัทแม่มอบให้กับผู้ที่เข้าร่วมกิจการโดยสิทธิพิเศษนี้จะครอบคลุมระบบเกือบทั้งหมด.
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต

ความหมายของอุปทาน ( Supply ) อุปทานหมายถึงปริมาณสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ขายต้องการขาย ณ ระดับราคาต่าง ๆ กันของสินค้าชนิดนั้นภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งโดยกำหนดให้สิ่งอื่น ๆ คงที่

กฎของอุปทาน (Law of Supply) ปริมาณสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ขายต้องการจะขาย จะมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับระดับราคาสินค้าหรือบริการ ชนิดนั้นเสมอ โดยมีข้อสมมติว่าสิ่งอื่นๆ คงที่ เมื่อกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ P Q P Q

ตารางอุปทาน และเส้นอุปทาน อุปทานของผู้ขายที่มีต่อส้มใน 1 สัปดาห์ ราคา (P) (บาท/กก.) ปริมาณ (Q) (กก./สัปดาห์) 25 16 20 14 15 12 10 5 8 P Q

เส้นอุปทาน มีค่าความชันเป็นบวก P(บาท/กก.) Q (กก./สัปดาห์) 10 5 15 20 25 ราคา (P) ปริมาณ (Q) 25 16 20 14 15 12 10 5 8 20 14 เส้นอุปทาน มีค่าความชันเป็นบวก 5 8

อุปทานส่วนบุคคลและอุปทานตลาด (Individual Supply and Market Supply) ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ขายแต่ละคนเต็มใจที่จะขาย ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน อุปทานตลาด ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ขายทุกคนในตลาดเต็มใจที่จะขาย ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน

อุปทาน บริษัท A (หน่วย) 1.00 0.50 1.50 2.00 2.50 1 2 3 4 ราคา ปริมาณ ราคา (บาท) อุปทาน บริษัท A (หน่วย) 2.00 1.50 1.00 0.50 3 2 1

อุปทาน บริษัท B (หน่วย) 1.00 0.50 1.50 2.00 2.50 1 2 3 4 ราคา ปริมาณ ราคา (บาท) อุปทาน บริษัท B (หน่วย) 2.00 1.50 1.00 0.50 4 3 2

อุปทาน บริษัท A (หน่วย) อุปทาน บริษัท B (หน่วย) ราคา (บาท) อุปทาน บริษัท A (หน่วย) อุปทาน บริษัท B (หน่วย) อุปทาน ตลาด(หน่วย) 2.00 1.50 1.00 0.50 3 2 1 4 3 2 7 5 3

ราคา (บาท) อุปทาน ตลาด(หน่วย) 1 2 3 4 ราคา ปริมาณ 5 6 7 2.00 1.50 1.00 อุปทาน ตลาด(หน่วย) 1.00 0.50 1.50 2.00 2.50 1 2 3 4 ราคา ปริมาณ 5 6 7 2.00 1.50 1.00 0.50 7 5 3

ราคา ปริมาณ ราคา ปริมาณ 1.00 0.50 1.50 2.00 2.50 1 2 3 4 ราคา ปริมาณ 5 6 1.00 0.50 1.50 2.00 2.50 ราคา ปริมาณ

อากาศ น้ำ ท่อ ราง ถนน ปริมาณ ราคา

ปัจจัยที่กำหนดอุปทาน (Determinants of Supply) 1) ราคาสินค้าชนิดนั้น 2) ราคาของปัจจัยการผลิต 3) กรรมวิธีการผลิต 4) จำนวนผู้ขาย 5) สภาพดินฟ้าอากาศ

ราคาสินค้าชนิดนั้น ราคา แรงจูงใจในการขายสูง แรงจูงใจในการขายต่ำ ปริมาณอุปทาน New entrants

ราคาของปัจจัยการผลิต ราคาปัจจัยการผลิตสูง ราคาปัจจัยการผลิตต่ำ

ผู้ขนส่งแจ้งลดราคาค่าขนส่ง หากมีการจัดส่งในปริมาณมาก ผู้ผลิตตัดสินใจผลิตเพิ่ม เนื่องจากต้องการประโยชน์ จากการส่งของในปริมาณมาก ผู้ขนส่งแจ้งลดราคาค่าขนส่ง หากมีการจัดส่งในปริมาณมาก

หากราคาลดต่ำลง อุปทานจะเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยการผลิต 4 ประการ ที่ดิน (Land) หากราคาลดต่ำลง อุปทานจะเพิ่มมากขึ้น แรงงานหรือทรัพยากรมนุษย์หรือทุนมนุษย์ (Labor or Human resource or Human capital) ทุนหรือสินค้าทุน (Capital or Capital Goods) ผู้ประกอบการ (entrepreneur)

กรรมวิธีการผลิต ปรับปรุง กระบวนการในการผลิตแบบเก่า 1st 2nd 3rd 4th กระบวนการในการผลิตแบบใหม่ 1st 2nd 3rd 4th

จำนวนผู้ขาย ผลิตน้อย ผลิตมาก

อดีต ปัจจุบัน

สภาพดินฟ้าอากาศ

Daimler Chrysler’s Supply Chain Hurricane Floyd Daimler Chrysler’s Supply Chain Plant 7 Suspension Part Plant 6 Plant 5 Plant 1 Plant 2 Plant 3 Plant 4

ฟังก์ชันอุปทาน (Supply Function) ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณขายและปัจจัยที่กำหนดอุปทาน Qx = f ( Px, B1, B2, … ) Qx = f ( Px)

การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน Move Along the Supply Curve เมื่อราคาสินค้าชนิดนั้น ๆ เปลี่ยนแปลงเพียงอย่างเดียว โดยปัจจัยอื่นๆไม่เปลี่ยน (สมมุติให้ปัจจัยอื่น ๆ คงที่) Shift in the Supply Curve เมื่อราคาสินค้าชนิดนั้นไม่เปลี่ยนแปลง แต่ปัจจัยตัวอื่นเปลี่ยน ทำให้เส้นอุปทานเลื่อนไปทางซ้าย หรือ ทางขวา (เลื่อนไปทั้งเส้น)

Move Along the Supply Curve เส้นอุปทานไม่เปลี่ยนแปลง เดิม P = 15  Q = 12 P(บาท/กก.) Q (กก./สัปดาห์) 10 5 15 20 25 ใหม่ P = 25  Q = 16 B 25 ใหม่ P = 5  Q = 8 16 A 15 เส้นอุปทานไม่เปลี่ยนแปลง 12 C 5 8

Shift in the Supply Curve อุปทานเพิ่ม P Q 10 5 15 20 25 S1 S2 15 12 18

อุปทานลด P Q 10 5 15 20 25 S1 S2 15 7 12

ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply: Es) เป็นการวัดว่าถ้าปัจจัยที่เป็นตัวแปรอิสระเปลี่ยนแปลงไปจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตามอย่างไร ความยืดหยุ่น ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา เป็นการวัดว่าถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไปจะทำให้ปริมาณ (อุปทาน) เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร การเปลี่ยนแปลงนั้นจะวัดเป็นเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลง ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1 % จะทำให้ปริมาณ (อุปทาน) เปลี่ยนแปลงไปกี่เปอร์เซ็นต์

การคำนวนหาความยืดหยุ่นของอุปทาน เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายต่อ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น Es = % Q % P

ตัวอย่าง สมมติว่าวิทยุราคาเครื่องละ 1,000 บาท ปริมาณขายเท่ากับ 500 เครื่อง ถ้าราคาวิทยุเพิ่มสูงขึ้นเป็นเครื่องละ 1,400 บาท ปริมาณขายจะเพิ่มขึ้นเป็น 800 เครื่อง ค่าความยืดหยุ่นของอุปทานของวิทยุเท่ากับเท่าใด % P % Q 60 % 40% 500 เครื่อง เพิ่มไป 300 เครื่อง 1,000 บาท เพิ่มไป 400 บาท 100 เครื่องเพิ่มไป (300 X 100)/500 = 60 เครื่อง 100 บาท เพิ่มไป (400X 100)/1,000 = 40 บาท Es = % Q % P = 60 % 40 % = 1.5

Es = 1.5 ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณขายเปลี่ยนแปลงไป 1.5% ในทิศทางเดียวกัน ถ้าราคาเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณขายเพิ่มขึ้น 1.5% ถ้าราคาลดลง 1% จะทำให้ปริมาณขายลดลง 1.5%

Es = 1.5 P Q เปลี่ยนแปลง 1 % เปลี่ยนแปลง 1.5 %

ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน ระยะเวลาในการผลิต ความยากง่ายในการผลิตสินค้า

ระยะเวลาในการผลิต Es ระยะเวลานาน Es ระยะเวลาสั้น < Q P Q P

ความยึดหยุ่นต่ำ ระยะเวลาในการผลิตยาวนาน P มีผู้ผลิตเพียงไม่กี่ราย Q P ระยะเวลาในการผลิตยาวนาน มีผู้ผลิตเพียงไม่กี่ราย แม้ว่าผู้ผลิตจะขึ้นราคา แต่ผู้บริโภคก็ต้องรอ

ความยึดหยุ่นสูง ระยะเวลาในการผลิตสั้น P มีผู้ผลิตหลายราย Q P ระยะเวลาในการผลิตสั้น มีผู้ผลิตหลายราย หากผู้ผลิตจะขึ้น ผู้บริโภคก็จะไปจะที่อื่น

ความยากง่ายในการผลิตสินค้า Es ยากในการผลิต Es ง่ายในการผลิต < ปริมาณ ราคา ปริมาณ ราคา

ข้อเสนอสำหรับตลาด (Market Offering) การผลิต (Production) ความหมายของการผลิต กระบวนการรวบรวมเอาปัจจัยการผลิต ซึ่งได้แก่ ที่ดิน แรงงาน ทุน วัตถุดิบ และเทคโนโลยีต่างๆ มาผลิตเป็นสินค้าและบริการ สินค้า ปัจจัย 1 หน่วยผลิต ข้อเสนอสำหรับตลาด (Market Offering) ปัจจัย 2 บริการ ปัจจัย 3

ข้อเสนอสำหรับตลาด (Market Offering) ปริมาณผลผลิตจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของปัจจัยการผลิต ปัจจัย 1 ปัจจัย 3 ปัจจัย 2 หน่วยผลิต ข้อเสนอสำหรับตลาด (Market Offering)

ข้อเสนอสำหรับตลาด (Market Offering) ปัจจัย 1 ปัจจัย 3 ปัจจัย 2 หน่วยผลิต ข้อเสนอสำหรับตลาด (Market Offering) ปัจจัย 1 ปัจจัย 3 ปัจจัย 2 ข้อเสนอสำหรับตลาด (Market Offering)

ปัจจัยคงที่ ( Fixed Factor ) ปัจจัยแปรผัน (Variable Factor) ปัจจัยการผลิต ปัจจัยคงที่ ( Fixed Factor ) ปัจจัยแปรผัน (Variable Factor)

ปัจจัยคงที่ ( Fixed Factor ) คือ ปัจจัยการผลิตที่ไม่สามารถหามาเพิ่มขึ้นหรือลดลง (ได้อย่างง่าย ๆ) ตามปริมาณการผลิตได้ เช่น ที่ดิน โรงงาน เครื่องมือเครื่องจักร เป็นต้น ไม่สามารถจัดหามาเพิ่มได้โดยทันที ความต้องการเพิ่มมากขึ้น

ปัจจัยแปรผัน (Variable Factor) คือ ปัจจัยการผลิตที่สามารถเพิ่มหรือลดตามปริมาณการผลิตได้ กล่าวคือถ้าผลิตมากก็ใช้มาก ผลิตน้อยก็ใช้น้อย เช่น วัตถุดิบ แรงงาน เป็นต้น

ปัจจัยแปรผัน (Variable Factor)

ระยะเวลาการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์ 1.ระยะสั้น (Short Run) 2. ระยะยาว (Long Run)

การผลิตในระยะสั้น (Short Run Production) ระยะเวลาการผลิตที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตทั้งปัจจัยคงที่และปัจจัยแปรผัน ยากต่อการเปลี่ยนแปลงในระยะสั้น ง่ายต่อการเปลี่ยนแปลงในระยะสั้น ปัจจัยคงที่ (Fixed Factors) ปัจจัยแปรผัน (Variable Factors)

การผลิตระยะยาว (Long Run Production) ระยะเวลาการผลิตซึ่งนานเพียงพอที่ผู้ผลิตจะเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิดให้มีจำนวนตามต้องการได้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในระยะยาว สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในระยะยาว ปัจจัยแปรผัน (Variable Factors) ปัจจัยแปรผัน (Variable Factors)

ฟังก์ชันการผลิต (Production Function) เมื่อ X1, X2, X3,…, Xn คือ ปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ QA = f (X1, X2, X3,…, Xn) ปริมาณผลผลิต (Quantity) TP = f (X1, X2, X3,…, Xn) จำนวนผลผลิตรวม (Total Product)

Qข้าว = f ( ทิ่ดิน , แรงงาน , ปุ๋ย , ยาฆ่าแมลง )

  ต้นทุนการผลิต ( Cost of Production ) ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) ต้นทุนแอบแฝง(Implicit Cost) ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายจริงทั้งเป็นตัวเงินหรือสิ่งของ ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) ต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายออกไปจริงๆ แต่ได้ประเมินขึ้นเป็นต้นทุน อยู่ในรูปของ “ต้นทุนค่าเสียโอกาส”  

   ต้นทุนทางบัญชีและต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ ต้นทุนทางบัญชี ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost)  ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์   ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) ต้นทุนแอบแฝง (Implicit Cost) ค่าเสียโอกาส

ต้นทุนทางบัญชี = ต้นทุนชัดแจ้ง ต้นทุนทางบัญชี = ต้นทุนชัดแจ้ง ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = ต้นทุนชัดแจ้ง + ค่าเสียโอกาส

ต้นทุนของเอกชนและต้นทุนของสังคม 1) ต้นทุนของเอกชน หรือ ต้นทุนภายใน (Private Cost or Internal Cost) ต้นทุนทุกชนิดที่ผู้ผลิตใช้จ่ายในการผลิตสินค้า และบริการ ทั้งที่จ่ายจริงและไม่ได้จ่ายจริง ได้รับจากการบริจาค 2) ต้นทุนของสังคม (Social Cost) ต้นทุนทุกชนิดที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่สังคมต้องรับภาระ

ต้นทุนของสังคม (Social Cost) ต้นทุนทุกชนิดที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่สังคมต้องรับภาระ ต้นทุนภายใน (Private Cost) ต้นทุนภายนอก (External Cost) ต้นทุนของสังคม (Social Cost)

ต้นทุนภายนอก (External Cost) ต้นทุนที่บุคคลอื่นที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าและบริการนั้นต้องภาระ ต้นทุนของสังคม ต้นทุนภายใน ผู้ขาย ผู้ซื้อ ต้นทุนภายนอก บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง กระทบ แบกรับภาระ

ต้นทุนที่เกิดจากการซื้อขายดังกล่าว เช่น จ่ายเงินค่า เครื่องฟอกอากาศ ผู้ขาย ผู้ซื้อ ต้นทุนที่เกิดจากการซื้อขายดังกล่าว เช่น จ่ายเงินค่า เครื่องฟอกอากาศ Carbon แบกรับภาระ บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง กระทบ

ต้นทุนการผลิตน้ำตาล จากอ้อย โรงงานน้ำตาล เครื่องบำบัดน้ำเสีย ต้นทุนการผลิตน้ำตาล จากอ้อย มี ไม่มี ต้นทุนเอกชน 50 60 ต้นทุนภายนอก 20 - ต้นทุนของสังคม 70 60

รายได้ที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายผลผลิตของตนตามราคาตลาด รายรับจากการขาย รายได้ที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายผลผลิตของตนตามราคาตลาด 1) รายรับรวม (Total Revenue : TR) 2) รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR)

รายรับรวม (Total Revenue : TR) รายรับทั้งหมดที่ผู้ขายได้รับจากการขายสินค้าตามราคาที่กำหนด TR = P x Q เมื่อ P คือ ราคาต่อหน่วย Q คือ ปริมาณขาย 20 บาท ผู้ซื้อ ผู้ขาย

รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR) รายรับรวมเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า TR Q = P x Q Q = P AR = TR Q = P

ดุลยภาพของผู้ผลิต เป้าหมายของผู้ผลิต กำไรสูงสุด ดุลยภาพของผู้ผลิต

กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = TR – ต้นทุนชัดแจ้ง – ต้นทุนแอบแฝง กำไร (Profit) กำไร = TR – TC กำไรทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Profit) กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = TR – ต้นทุนชัดแจ้ง – ต้นทุนแอบแฝง

มุมมองของ นักเศรษฐศาสตร์ นักบัญชี Economic Profit Accounting Profit รายได้ รายได้ Implicit Cost Explicit Cost Explicit Cost

กำไรแท้จริง หรือกำไรทางเศรษฐศาสตร์ ถ้า TR = TC กำไรปกติ (Normal Profit) กำไร = “ศูนย์” กำไรแท้จริง หรือกำไรทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Profit) ถ้า TR > TC กำไร > “ศูนย์” ขาดทุน (Economic Loss) ถ้า TR < TC กำไร < “ศูนย์”

นางสาวแดงเป็นพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ซึ่งได้รับเงินเดือนคิดแล้วได้ปีละ 50,000 บาท ต่อมาแดงลาออกแล้วมาเปิดร้านอาหาร โดยเอาตึกแถวที่ตนเองเคยให้คนอื่นเช่าปีละ 20,000 บาท มาเป็นร้านอาหาร ในปีนั้น แดงได้รายได้ทั้งหมด 500,000 บาท แต่ต้องเสียค่าจ้างพนักงานและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นจำนวน 350,000 บาท และ 50,000 บาท ตามลำดับ นางสาวแดงมีผลประกอบการอย่างไรทางเศรษฐศาสตร์

เศรษฐศาสตร์ บัญชี รายการ รายได้ 500,000 500,000 หัก ต้นทุนชัดแจ้ง หัก ต้นทุนชัดแจ้ง - ค่าจ้าง 350,000 350,000 - อุปกรณ์ 50,000 50,000 หัก ต้นทุนแอบแฝง ค่าเสียโอกาส - เงินเดือนที่ควรได้ - 50,000 - เงินค่าเช่า - 20,000 กำไร 100,000 30,000