แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เข้าสู่ระบบการทำงาน โดยไปที่ web site //http: intranet.dopa.go.th 2. ก่อนเริ่มทำงานให้ download โปรแกรม Adobe Acrobat 7.0.8/Thai Support /คู่มือการใช้งานระบบ.
Advertisements

Document Flow :: 3 Concepts
Client-Side Scripts เอกสารประกอบการบรรยาย รายวิชา Browser-Based Application Development.
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
Php เงื่อนไข และ การวนซ้ำ Professional Home Page :PHP
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
กรณีศึกษา : โรงแรมช่ออินทนิล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
Data Form c40205 Web Site Developing in PDP style ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียน ปลวกแดงพิทยาคม.
การทำงานและคำสั่งพื้นฐาน
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
Health Script The Universal Health Data Center.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) บทที่ 2: ทบทวนการเขียน ภาษา Java ใช้ร่วมกับ Html และการรับข้อมูลจาก Form.
การสร้าง ฟอร์มรับข้อมูล ง การเขียนเว็บไซต์ เบื้องต้น ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียน ปลวกแดงพิทยาคม.
Form.
การรับและส่งค่าระหว่าง ฟอร์ม อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
1. สร้างข้อความเชื่อมโยงและจุดลิงค์ ที่หน้าใดๆ 2. ที่ช่อง Link ของพาเนล Properties เครื่องหมาย # แล้วตามด้วยชื่อ page ที่ ต้องการ Link ไป.
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
แนวทางการบริหารงานบำรุงทาง โดย นายชัชวาลย์ บุญเจริญกิจ รองอธิบดีฝ่ายบำรุงทาง วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2553.
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Input&Output เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นาย ภคินนัย ชมภูนุช ม.4/1 เลขที่ 8 นางสาว ฟ้ารุ่ง วะสาร ม.4/1 เลขที่ 27 นางสาว รัฐภัทร บุญทัน.
The Multiple Document Interface (MDI) การประสานเอกสาร หลายรูปแบบ.
สอน สบน สอน AS-IS TIDTOR E- Filling ( มาตรา 9) อ.1 + เอกสาร แนบ กน. 9 กน. 10 ผู้ประกอ บการ กรม ศุลกากร License / Invoice Cert Gen อ. 2 TeDA Sign ( มาตรา.
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าแรงดันกระแสสลับ AC Indicating Voltage Meter
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
โปรแกรม GG2 Prompt.
Work Shop 2.
การรายงานแผนและผลการปฏิบัติงานผ่านระบบสารสนเทศ CAD_CA
การออกแบบระบบงาน (Conceptual Design)
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
สัญลักษณ์.
การออกแบบระบบงาน (Conceptual Design)
การประเมินสมรรถนะออนไลน์ e-Competency
การออกแบบระบบ System Design.
ถ้าคิดว่าคุณแน่ อย่าแพ้เรานะ
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
การปกครองท้องถิ่น.
Executive Presentation
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเตรียมคำขอรับ สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
การประเมินการเรียนการสอน
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
การเป็นศูนย์กลางข้อมูลแรงงานระดับจังหวัด Provincial Data
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
ลำดับ A B C D CD AB.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
วิธีใช้ Google form สร้างแบบสอบถามออนไลน์.
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
แนวทางและแผนการดำเนินงานฯ
นายชลี ลีมัคเดช ทีมพัฒนาระบบฯ
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคคล
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี ปีงบประมาณ 2561

1. เกณฑ์ในการจัดระดับผู้สอบบัญชี ตำแหน่ง ระยะเวลา การปฏิบัติงานสอบบัญชี ผู้สอบบัญชีระดับ 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ 2 ปี ขึ้นไป ผู้สอบบัญชีระดับ 2 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ ไม่เกิน 2 ปี เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชีชำนาญงาน ผู้สอบบัญชีระดับ 3 เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชีอาวุโส ผู้สอบบัญชีระดับ 4 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีเชี่ยวชาญ การเลื่อนระดับผู้สอบบัญชีทุกระดับ ต้องผ่านการทดสอบความรู้ ตามที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์กำหนด

2. การจัดระดับความยากในการสอบบัญชี ระดับความยาก ในการสอบบัญชี ปัจจัย องค์ประกอบปัจจัย คะแนนปัจจัย ระดับความยาก ในการสอบบัญชี คะแนน ระดับความยาก ขนาด 1. ทุนดำเนินงาน 2. รายได้ธุรกิจหลัก 3. สมาชิก เล็ก 1 คะแนน ปานกลาง 2 คะแนน ใหญ่ 3 คะแนน ใหญ่มาก 4 คะแนน ความซับซ้อน 1. กิจกรรมทางการเงิน - การรับฝากเงิน - การให้กู้ 2. กิจกรรมผลผลิตและบริการ - การจัดหาสินค้ามาจำหน่าย - การรวบรวมผลิตผล - การให้บริการและการส่งเสริมการเกษตร 3. กิจกรรมต้นทุนการผลิต - ต้นทุนการผลิต 4. มีสาขา น้อย 1 คะแนน มาก 3 คะแนน มากที่สุด 4 คะแนน 7 - 8 5 - 6 3 - 4 1 - 2 มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย

2. การจัดระดับความยากในการสอบบัญชี ปัจจัยในการวิเคราะห์ความยากในการสอบบัญชี ความยากในการสอบบัญชี(1)+(2) (1) ขนาด (2) ความซับซ้อน ช่วงคะแนนรวม ระดับความยาก ในการสอบบัญชี ระดับ คะแนน ใหญ่มาก 4 มากที่สุด 7 - 8 ใหญ่ 3 มาก 5 - 6 ปานกลาง 2 3 - 4 เล็ก 1 น้อย 1 - 2 ไม่ดำเนินธุรกิจ, รายการบัญชีไม่เคลื่อนไหว, มีเพียงรายการบัญชียอดยกมา - ยกไป หรือมีเพียงดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร/สหกรณ์อื่นเพิ่มขึ้นเท่านั้น ไม่สามารถจัดระดับความยากได้

2. การจัดระดับความยากในการสอบบัญชี เสนอให้สตท. พิจารณาให้ความเห็นชอบ หากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์มีความเห็นว่าระดับความยากในการสอบบัญชีในระบบ Intranet ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ให้จัดทำหนังสือแจ้งเหตุผลที่ต้องพิจารณาจัดระดับความยากใหม่เป็นรายสหกรณ์โดยพิจารณาจาก 1. สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องที่นายทะเบียนสหกรณ์ใช้อำนาจตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2553 ให้แก้ไขข้อบกพร่อง 2. สหกรณ์ที่มีลักษณะของการดำเนินธุรกิจมีความซับซ้อนมาก เสนอให้สตท. พิจารณาให้ความเห็นชอบ

3.1 การมอบหมายงานสอบบัญชี 3. การมอบหมายงานสอบบัญชีและการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 3.1 การมอบหมายงานสอบบัญชี - ให้หน.สตส.มอบหมายงานสอบบัญชีตามระดับผู้สอบบัญชีและความยากในการสอบบัญชี - เสนอผอ.สตท. พิจารณากลั่นกรองก่อนแต่งตั้งผู้สอบบัญชี - ผู้สอบบัญชีไม่ให้เป็นผู้สอบบัญชีเดิมติดต่อกันเกิน 3 ปี

3. การมอบหมายงานสอบบัญชีและการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี ระดับ ตำแหน่ง ระดับความยากในการสอบบัญชี ผู้สอบบัญชีระดับ 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ 2 ปี ขึ้นไป ยากน้อย ผู้สอบบัญชีระดับ 2 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ ไม่เกิน 2 ปี เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชีชำนาญงาน ยากน้อย, ไม่สามารถจัดระดับความยากได้ ผู้สอบบัญชีระดับ 3 เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชีอาวุโส นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ 2 – 10 ปี ยากมาก, ยากปานกลาง, นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ 10 ปี ขึ้นไป ยากมากที่สุดอย่างน้อย 1 แห่ง, ยากมาก, ยากปานกลาง, ผู้สอบบัญชีระดับ 4 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีเชี่ยวชาญ ยากมากที่สุด

3.2 การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 3. การมอบหมายงานสอบบัญชีและการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 3.2 การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี - ให้แต่งตั้งผู้สอบบัญชีตามรอบปีบัญชี แต่ไม่เกิน 45 วัน นับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงิน - กรณีสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ให้พิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากระดับ 2 ขึ้นไป - มีผู้สอบบัญชีแต่ละระดับไม่สอดคล้องกับจำนวนสหกรณ์ให้สตท.1 ใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีตามความเหมาะสม โดยให้คำนึงถึงเส้นทางการเดินทางไปปฏิบัติงานควรอยู่ในเส้นทางเดียวกันเพื่อความสะดวกและเป็นการประหยัดงบประมาณ

4. มาตรฐานเวลาการปฏิบัติงานสอบบัญชี ตั้งแต่วันที่เริ่มงานสอบบัญชีวันแรกจนถึงวันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงิน โดยให้นับเฉพาะวันที่ปฏิบัติงานจริงเท่านั้น ซึ่งให้นับรวมจำนวนวันที่ใช้ในการวางแผนงานสอบบัญชี และการปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีระหว่างปี เป็นวันปฏิบัติงานตามมาตรฐานเวลาปฏิบัติงานสอบบัญชีด้วย ระดับความยากในการสอบบัญชี มาตรฐานเวลาปฏิบัติงาน (วัน) มากที่สุด 45 มาก 30 ปานกลาง 20 น้อย 10 ไม่สามารถจัดระดับความยากได้ 7

- มีการดำเนินธุรกิจที่มีความซับซ้อนเป็นพิเศษ 4. มาตรฐานเวลาการปฏิบัติงานสอบบัญชี - สหกรณ์มีการทุจริต - มีการดำเนินธุรกิจที่มีความซับซ้อนเป็นพิเศษ - สหกรณ์ตั้งใหม่ที่มีความยากในการสอบบัญชี ผู้สอบบัญชีสามารถขอขยายเวลาปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีได้ โดยเสนอผอ.สตท.1 - 10 ผ่านหน.สตส.ในพื้นที่ พิจารณาตามที่เห็นสมควร

5.1 การวางแผนงานสอบบัญชี 5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี 5.1 การวางแผนงานสอบบัญชี - ภายใน 90 วันนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สอบบัญชี - เสนอแผนงานตรวจสอบต่อหัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เพื่อสอบทาน 5.2 การตรวจสอบบัญชีระหว่างปี - วางแผนตรวจสอบบัญชีระหว่างปี กลุ่มที่สามารถส่งงบการเงินได้ อย่างน้อย 1 ครั้ง - ให้เข้าตรวจสอบบัญชีระหว่างปีครั้งแรกก่อนวันสิ้นปีทางบัญชีไม่น้อยกว่า 4 เดือน - กรณีสหกรณ์ที่มีปัญหาการทุจริต หรือมีข้อบกพร่องให้วางแผนเข้าตรวจสอบบัญชีระหว่างปีทุกไตรมาส เพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันต่อสถานการณ์ - กรณีผู้สอบบัญชีตรวจพบข้อสังเกตในการตรวจสอบบัญชีระหว่างปี ให้แจ้งข้อสังเกตตามที่กรมฯกำหนดไว้ใน ว.86

5.3 การตรวจสอบบัญชีประจำปี 5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี 5.3 การตรวจสอบบัญชีประจำปี - ผู้สอบบัญชีเสนอรายงานการสอบบัญชีประจำปี งบการเงินและกระดาษทำการ ให้หน.สตส.สอบทานก่อนแสดงความเห็นต่องบการเงิน - กรณีผู้สอบบัญชีตรวจพบรายการที่ต้องปรับปรุงบัญชีประจำปี ให้จัดทำเป็นหนังสือถึงประธานสหกรณ์ และเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ - กรณีผู้สอบบัญชีตรวจพบข้อสังเกตในการตรวจสอบบัญชีประจำปี ให้แจ้งข้อสังเกตตามที่กรมฯกำหนดไว้ใน ว.86

5.4 การรายงานการสอบบัญชี (1) รายงานการสอบบัญชีระหว่างปี 5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี 5.4 การรายงานการสอบบัญชี (1) รายงานการสอบบัญชีระหว่างปี ภายใน 10 วัน นับแต่วันที่เสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน เสนอน.ท.ส.ผ่านหน.สตส. (2) รายงานการสอบบัญชีประจำปี - ให้ผู้สอบบัญชีจัดทำรายงานของผู้สอบบัญชีและรายงานผลการตรวจสอบบัญชีตามที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด - รายงานของผู้สอบบัญชีกำหนดให้ต้องมีวรรคเรื่องสำคัญในการตรวจสอบสหกรณ์ทุกประเภทที่ดำเนินธุรกิจ - หากผู้สอบบัญชีพิจารณาว่าไม่มีเรื่องสำคัญในการตรวจสอบให้ระบุข้อความภายใต้วรรคเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ดังนี้

5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ คือ เรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการเงินสำหรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่มีเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ที่ต้องสื่อสารในรายงานของข้าพเจ้า   และให้ปรับข้อความในวรรคความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน ดังนี้ ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้า......................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์เกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยสำคัญที่พบจากการตรวจสอบ รวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญ (ถ้ามี) ในระบบการควบคุมภายในซึ่งข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า จากเรื่องทั้งหลายที่สื่อสารกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ข้าพเจ้าพิจารณาเรื่องต่างๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินในงวดปัจจุบันเพื่อกำหนดเป็น “เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ” ซึ่งถ้ามี ข้าพเจ้าจะอธิบายเรื่องเหล่านี้ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อสาธารณะหรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้า เพราะการกระทำดังกล่าว สามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ที่ผู้มีส่วนได้เสียสาธารณะจะได้จากการสื่อสารดังกล่าว

5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี กรณีทุนต่ำกว่า 5 ล้านบาท /กลุ่มที่ไม่ดำเนินธุรกิจ 1. ตัดวรรคเรื่องสำคัญในการตรวจสอบทิ้ง 2. ตัดวรรคท้ายสุดทิ้ง   ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้า......................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์เกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยสำคัญที่พบจากการตรวจสอบ รวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญ ในระบบการควบคุมภายในซึ่งข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า

5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี - ปีงบประมาณ 2561 อนุโลมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีทุนดำเนินงานต่ำกว่า 5 ล้านบาท ผู้สอบบัญชียังไม่ต้องพิจารณาเรื่องสำคัญในการตรวจสอบไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี   - ระยะเวลาการจัดส่งรายงานการสอบบัญชีประจำปี งบการเงินและกระดาษทำการ เสนอนายทะเบียนสหกรณ์ ภายใน 10 วัน นับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงิน - ให้ผู้สอบบัญชีจัดส่งรายงานของผู้สอบบัญชี รายงานผลการตรวจสอบบัญชี และงบการเงินเพื่อนำเสนอไว้ในรายงานประจำปีของสหกรณ์ - จัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในหลังวันที่หน.สตส.สอบทานร่างรายงานของผู้สอบบัญชีแต่ต้องภายในวันที่แสดงความเห็นต่องบการเงิน - รายงานข้อมูลทางการเงิน (Input form) ภายใน 5 วัน นับแต่วันที่แสดงความเห็นต่อ งบการเงิน

6. การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี 1 ผู้สอบบัญชี ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีที่ได้รับมอบหมายทุกชิ้นงาน 2 หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ สอบทานงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ทุกชิ้นงาน การวางแผนงานสอบบัญชี การปฏิบัติงานและการรายงานการสอบบัญชีระหว่างปีและประจำปีก่อนการแสดงความเห็นต่องบการเงิน 3 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 - 10 - กำกับดูแลการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่รับผิดชอบ - ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีทุกกระบวนการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาครัฐ อย่างน้อยรายละ 1 แห่ง - ควบคุมคุณภาพผลงานของผู้สอบบัญชีภาคเอกชนที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบ อย่างน้อยรายละ 1 แห่ง