ตัวอย่างการดำเนินที่นำการประเมินเชิงระบบ SI,M

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ทิศทางการพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2559
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่างการดำเนินที่นำการประเมินเชิงระบบ SI,M เขตบริการสุขภาพที่ 12

การบริหารจัดการงาน NCD เขตบริการสุขภาพที่ 12

จังหวัด จำนวนประชากร A 1,396,501 311,099 638,746 522,231 691,234 สงขลา 1,396,501 สตูล 311,099 ตรัง 638,746 พัทลุง 522,231 ปัตตานี 691,234 ยะลา 448,250 นราธิวาส 769,658 รวม 4,777,719 A

โรค ปี 2557 ปี 2558 จำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ เขตบริการสุขภาพที่12 โรค ความดันโลหิตสูง 372,000 399,274 โรค เบาหวาน  140,465 155,513 โรคหลอดเลือดสมอง  23,105 30,616 โรคหัวใจขาดเลือด  26,556 32,632

สรุปข้อมูลปัญหา ปี 2557 เบาหวาน ความดันโลหิตสูง: การดำเนินงานที่ผ่านมา การคัดกรองโรค ดำเนินการผ่านเกณฑ์ การควบคุมผู้ป่วยรายใหม่มีแนวโน้มดีขึ้น ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต/ระดับน้ำตาลได้เพิ่มขึ้น และลดภาวะแทรกซ้อนและการตายเพิ่มขึ้น โรคหลอดเลือดสมอง: ระบบการดูแลรักษาพัฒนามากขึ้น และรองรับการรักษาผู้ป่วยเพิ่มขึ้น อัตราการตายยังสูง คาดว่าเกิดจากความไม่ครอบคลุมของระบบบริการ อุบัติการณ์เพิ่มขึ้นคาดว่าเกิดจากการไม่สามารถคุมเบาหวาน/ความดันโลหิตได้ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ดีพอ หัวใจ ระบบการดูแลเป็นระบบมากขึ้น การตายจากSTMIลดลง ภาพรวมการตายเพิ่มขึ้น คาดว่าเกิดจากความไม่สามมารถเข้าถึงระบบบริการ

แผนการดำเนินงาน ปี 58 ระดับบริการ ประเด็นการพัฒนา Service Delivery Health Workforce Health Information เทคโนโลยีการแพทย์ Financing System Participation AM FP = ? DM. HT” NCD คุณภาพ nurse case manager 14คน 1สค.-30 พย..2558 โครงการพัฒนาข้อมูล 4 โรค 2-4ธค ABI 35,000X14งบสปสช. 400,000 จัดทำCPG 4โรค คลินิกกลุ่มเสี่ยง AMFP Stroke ดูแลรักษา คัดกรองกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Stroke nurse 10 .”----” สนับสนุนเครื่องมือ Stroke unit เครื่อง ชั่งนน. แบบ เปลนอน ยะลาและ พัทลุง 50,000X10 จัดทำคู่มือการเยี่ยมบ้านโรคเรื้อรัง Fast track CVD risk Stroke Alert โรคหัว ใจขาดเลือด คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม PCI/SK. ผ่าตัดหัวใจ พยาบาลเฉพาะทางสาขาโรคหัวใจ ยะลา: Cath lab ตรัง :เครื่องมือผ่าตัด หาดใหญ่: Cath Lab 50,000 x10 พัฒนาศูนย์หัวใจ 3 แห่ง ลดคิวผ่าตัด ,PCI ACS Alert

การจัดทำแนวทางปฏิบัติระดับเขต คน กรรมการแต่ละโรค ประธานเป็น ผู้เชี่ยวชาญ เช่น กรรมการตัวแทนสหสาขาทุกจังหวัด เงิน สปสช. แนวคิด ถอดมาจากแผน แนวคิดการจัดบริการแต่ละระดับ แนวคิดการ Prevention 3 ระดับ

อ้วน Uncontrol DM Continuous ambulatory peritoneal dialysis Hemo dialysis HD Kidney transplant RRT = Renal Replace Therapy acute coronary syndrome, ACS: กลุ่มของอาการใดๆ ที่เป็นผลจากการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ อาการ ACS ที่พบบ่อยที่สุดคืออาการเจ็บหน้าอก โดยเฉพาะอาการเจ็บเค้นหัวใจ ที่ร้าวไปยังแขนซ้ายหรือมุมกราม ลักษณะปวดเหมือนถูกกดทับ และสัมพันธ์กับอาการคลื่นไส้ เหงื่อแตก ส่วนใหญ่เกิดจากโรคสำคัญๆ 3 อย่าง ได้แก่ โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดชนิดมีการยกของช่วง ST (STEMI) (30%), โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดชนิดไม่มีการยกของช่วง ST (NSTEMI) (25%) และอาการปวดเค้นไม่เสถียร (UA) (38%) อ้วน Uncontrol DM

ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง แนวคิดการจัดบริการ บริการระดับสูงต้อง คุ้มค่าการลงทุน ความเชี่ยวชาญเฉพาะ เป็นเครือข่ายบริการ - Satellite OP - Centralize IP - Excellent Center - Seamless Health Service Network ตติยภูมิ (รพศ./รพท. (A, S, M1) ทุติยภูมิ (รพช.) (M2, F1, F2, F3) ปฐมภูมิ (ศสม./รพ.สต./สสช.) (P1, P2) ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง สาขา มะเร็ง หัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไต จักษุวิทยา

แนวทางการปฏิบัติระดับเขต จากแนวคิดการจัดบริการที่เชื่อมโยงทุกระดับสู่การจัดทำแนวทางแนวทางปฏิบัติระดับเขต เป็นเครือข่ายบริการ - Satellite OP - Centralize IP - Excellent Center - Seamless Health Service Network แนวทางการปฏิบัติระดับเขต รพศ./รพท. รพช. รพสต. ชุมชน การประเมิลผลการใช้ประโยชน์ใช้ กลไกการประเมินNCD คุณภาพ ใน

ผลการดำเนินงาน ปี 2557-2558

อัตราการตายของผป.ต่อพันประชากร คำนวณผิด(ตัวตั้ง/ตัวหารคืออะไร) อัตราการตายของผป.ต่อพันประชากร คำนวณผิด(ตัวตั้ง/ตัวหารคืออะไร)

ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนในDM. HT.

สรุปผลการดำเนินงาน อัตราการเกิดโรครายใหม่เริ่มลดลง ทั้ง 4 โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือดและหลอดเลือดสมอง ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานมีแนวโน้มลดลง แต่ความดันโลหิตสูงกลับเพิ่มขึ้น อัตราการตายเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง แต่โรคหัวใจและหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ปัจจัยเสี่ยงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ได้แก่ ภาวะอ้วน ปี 2557-25 ขณะที่ปัจจัยเสี่ยง CVD risk ในโรคเบาหวานและความดันโลหิตมีแนวโน้มลดลง

อ้วน Uncontrol DM

ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทยปี2554-2563 ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย ประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตด้วยการรวมพลังทุกภาคส่วนภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ผลลัพธ์ ระยะ 5 ปี ภาวะอ้วนลดลง ภาวะแทรกซ้อนลดลง ระยะ 10 ปี อายุยืนขึ้น ป่วยตาย ลดลง ความชุก โรค ไม่เพิ่ม ภาระค่าใช้จ่ายลดลง?? ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย 1.นโยบายสาธารณสร้างสุข 2.การขับเคลื่อนทางสังคมแลละสื่อสาธารณะ 3 การพัฒนาศักยภาพชุมชน 4.การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและจัดการโรค 5.การสร้างความเข้มแข็งของระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์

สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย ของเขตสุขภาพ 12 สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย ของเขตสุขภาพ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 1,2 เป็นนโยบายสาธารณะและการขับเคลื่อนสังคม ซึ่งให้ความสำคัญกับการลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรค พบว่า ยังเป็นปัญหาสำคัญของเขตดังจะเห็นได้จาก ภาวะอ้วนมีแนวโน้มสูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพชุมชน เริ่มดีขึ้นเนื่องจาก ข้อมูลผู้ป่วยรายใหม่ ของ 4 โรค เริ่มลดลง แต่ เรื่องอ้วน ชุมชนต้องให้ความสำคัญมากขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและจัดการโรค เริ่มดีขึ้นจะเห็นได้จากอัตราการคัดกรองโรคและภาวะแทรกซ้อน อัตราการควบคุมความดันโลหิตเป็นไปตามเป้าหมาย CVD risk ลดลง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความเข้มแข็งของระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์ เขต12 มีจุดแข็ง เรื่องระบบข้อมูล สารสนเทศ

เป้าหมายการพัฒนาปี2559 ลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค ได้แก่ลดภาวะอ้วนในปชก.อายุ>15ปี ลดการเกิดโรครายใหม่และภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานโดยเน้นโรคความดันโลหิตสูงมากขึ้น การควบคุมระดับน้ำตาลในDM และความดันโลหิต HT ลดอัตราการตายจากโรคหัวใจขาดเลือด และหลอดเลือดสมอง โดยเพิ่มการเข้าถึงบริการให้มากขึ้น

มาตรการการ ดำเนินงาน ปี 2559 มาตรการการ ดำเนินงาน ปี 2559 หัวใจ DM HT Stroke Fast tract พัฒนาศูนย์หัวใจ 3 แห่ง ลดคิวผ่าตัด ,PCI Self monitoring SMBP SMBG Stroke unit CVD risk ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ACS Alert Stroke Alert กลุ่มเสี่ยงไม่ให้เป็นโรค คัดกรองภาวะแทรกซ้อน คัดกรอง/วินิจฉัยเบื้องต้น คัดกรองวินิจฉัยเบื้องต้น วินิจฉัย ควบคุมอาการรักษาภาวะแทรกซ้อนไม่รุนแรง ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ DHS อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง หมู่บ้านปรับเปลี่ยน ตำบลจัดการสุขภาพ ชุมชน รักษาภาวะแทรกซ้อนรุนแรง 3 อ. 2 ส. เพื่อลดอ้วน ลดการเป็นโรค ควบคุมอาการโรค

แผนการพัฒนา ปี2559 ประเด็นการพัฒนา Service Delivery Health Workforce Health Information เทคโนโลยีการแพทย์ Financing System Participation DM. HT” NCD คุณภาพ nurse case manager 10 - สปสช.861,000(PPA,PPD) 50,000X10 สคร.12 300,000 Self monitoring SMBG SMBP โครงการลดเค็มในครัวเรือน เวทีแลกเปลี่ยนความรู้NCD โครงการลดอ้วน BMI >25 บูรณาการการทำงานกับชุมชนผ่านกระบวนการ (เน้นการคืนข้อมูล) DHS อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง หมู่บ้านปรับเปลี่ยน ตำบลจัดการสุขภาพ โรคหัวใจขาดเลือด คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม PCI/SK. ผ่าตัดหัวใจ พยาบาลเฉพาะทางสาขาโรคหัวใจ พัฒนาความครอบคลุมของข้อมูลหัวใจและหลอดเลือดสมอง พัฒนาการสอบสวนโรคเน้นโรคหัวใจขาดเลือดและหลอดเลือดสมอง ยะลา: Cath lab ตรัง :เครื่องมือผ่าตัด หาดใหญ่: Cath Lab 50,000 x10สปสช.400,000 พัฒนาศูนย์หัวใจ 3 แห่ง ลดคิวผ่าตัด ,PCI โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้นผป. CVD risk >30% ACS Alert Stroke Stroke unit Stroke nurse 10 เครื่องมือ stroke unit เพิ่มการเข้าถึงยาrtpa Stroke Alert Node รพช. Sub acute rehab

Innovation

1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนแล้วให้แต่ละจังหวัดเก็บประเด็นไปพัฒนา ปี2558 ในเวทีประชุมวิชาการเขต ปี2559 NCD forum เขต งบสคร

2.เขต ค้นหา Best practice เพื่อนำมาแก้ปัญหาเขต แผน เขต Self monitoring SMBP SMBG 7จังหวัด ปี2558 กงหรา โมเดล งบประมาณสปสช. 861,000 บาท ปัญหา uncontrol DM HT

1.เขตเสนอปัญหาและนำล่องการพัฒนาบางจังหวัด เพื่อสร้างBest Practice ปัญหา โรคหัวใจและstroke ตามมากขึ้น มาช้า งบประมาณ สปสช. เขต12 400,000บาท ปี2558-2559 โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้นผป. CVD risk >30% จังหวัดตรัง ขยายผล กลุ่มป่วย กลุ่มไม่ป่วย

การคัดกรองBehavior risk, DM/HT /CVD=% ข้อมูลที่ขาดหาย การคัดกรองBehavior risk, DM/HT /CVD=% การวินิจฉัย DM / HT = % การใช้บริการทางสาธารณสุขและการแพทย์ % ระยะเวลาในการให้บริการ การ share บุคลากร งบประมาณ การสื่อสารสาธารณะในเขตบริการสุขภาพ การเชื่อมโยงระบบบริการ การพัฒนาCPG ของเขต โครงสร้างความร่วมมือที่เป็นรูปธรรม

กรณีตัวอย่างจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ร้อยละ ผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ปีงบประมาณ 2559 อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

โครงสร้างประชากรที่ป่วยDM Determinants43 Behavior Morbidity/ Mortality Event-based Program response โครงสร้างประชากรที่ป่วยDM ชุมชนมุสลิมมีภาวะBMI/รอบเอวเกิน วัฒนธรรมการบริโภค ผู้ป่วยDMที่คุมระดับน้ำตาลได้ ผู้ป่วยDM สูบบุหรี่ ร้อยละ 7.69 ผู้ป่วยDMที่ดื่มสุรา ร้อยละ ผู้ป่วยที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้ อัตราป่วย% อัตราตาย% (ข้อมูลจาก 43แฟ้มหรือ Hos. exp) อัตราอุบัติการณ์สูงในชุมชนมุสลิม ตำบล .......สูงกว่าพื้นที่ชาวพุทธ 43แฟ้ม/Hos exp) ร้อยละของภาวะแทรกซ้อน -โปรแกรมเพื่อการละลดเลิกบุหรี่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย

Program Response โปรแกรม เพื่อการละลดเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยเบาหวาน เน้นกลุ่มที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด โปรแกรมแม่บ้านควบคุมความเสี่ยง เพื่อลดอาหารหวาน มัน โปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย เพื่อการเพิ่มวิถีชีวิตหุ่นสวยรวยพลัง คลินิคNCD คุณภาพ เพื่อการสื่อสาร/พัฒนาความรู้ความสามารถในการจัดการตนเอง และการพัมนาทีมงานสุขภาพ โปรแกรมการติดตามประเมินผลสุขภาพ