คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
ชิ้นงานที่ 2 ( 20 คะแนน ) ( งานคู่ ) นักเรียนออกแบบและสร้าง เว็บไซต์ โดยใช้ภาษา HTML5 ร่วมกับ CSS3.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
การขอโครงการวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลักการเขียนเกณฑ์การประเมิน(Rubrics)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
นางสาวรตยา พนมวัน ณ อยุธยา นางสาววิไลลักษณ์ ดวงบุปผา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เกณฑ์การประเมิน โดย ดร.ผดุงชัย ภู่พัฒน์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Rubric คืออะไร A Rubric is an established set of criteria for scoring or rating students’ tests, portfolios, or performances. Daine Hart, 1995 Rubric – A scoring rubric is a set of ordered categories to which a given piece of work can be compared. Scoring rubrics specify the qualities or processes that must be exhibited in order for a performance to be assigned a particular evaluative rating. Peter McDaniel, 1994 เกณฑ์การให้คะแนน คือ ชุดของเกณฑ์ที่กล่าวถึงคุณภาพหรือกระบวนการเพื่อเป็นแนวทางในการให้คะแนน หรือจัดอันดับคุณภาพ ผลงาน การปฏิบัติต่าง ๆ

เกณฑ์การประเมิน 1. องค์ประกอบ /ประเด็น 2. คำอธิบายถึงระดับคุณภาพ Rubrics : เป็นเครื่องมือการให้คะแนน ประกอบด้วย 1. องค์ประกอบ /ประเด็น 2. คำอธิบายถึงระดับคุณภาพ

เกณฑ์การประเมิน Writing 1. Introduction Paragraph 2. Supporting Detail Paragraph 3. Conclusion 4. Sentence Structure 5. Organization

เกณฑ์การประเมินการเขียน 1. การใช้ภาษา 2. เนื้อหา

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน 1. ความสมบูรณ์ของชิ้นงาน 2. ความคิดสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน 1. องค์ประกอบ /ประเด็น 2. คำอธิบายถึงระดับคุณภาพ Rubrics : เป็นเครื่องมือการให้คะแนน ประกอบด้วย 1. องค์ประกอบ /ประเด็น 2. คำอธิบายถึงระดับคุณภาพ

ระดับการประเมิน ระดับ 1 Needs Improvement (ต้องปรับปรุง) ระดับ 2 Satisfactory (พอใช้) ระดับ 3 Good (ดี) ระดับ4 Excellent (ดีมาก)

ประเภทของเกณฑ์การประเมิน 1. เกณฑ์การประเมินในภาพรวม (Holistic Rubric) 2. เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric)

เกณฑ์การประเมินในภาพรวม (Holistic Rubric) @ แนวทางการให้คะแนนพิจารณาจาก ภาพรวมของชิ้นงาน @ มีคำอธิบายลักษณะของงานในแต่ละระดับ อย่างชัดเจน

เกณฑ์การประเมินแบบ Holistic Rubrics ตัวชี้วัด ค 5.1 ป.6/1 เขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบและกราฟเส้น ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน) แผนภูมิมีความถูกต้องสมบูรณ์ครบทุกรายการได้แก่ 1.แผนภูมิมีองค์ประกอบสำคัญครบถ้วน 2.มีการกำหนดมาตราส่วนได้เหมาะสมสอดคล้องกับข้อมูล 3.ขนาดของแท่งแผนภูมิและระยะห่างของแผนภูมิเท่ากันทั้งหมด 4.แท่งแผนภูมิที่นำเสนอมีจำนวนครบถ้วนและถูกต้องทุกรายการ แผนภูมิมีข้อผิดพลาดรายการใดรายการหนึ่ง แผนภูมิมีข้อผิดพลาดมากกว่า 1 รายการ

เกณฑ์การประเมินโดยภาพรวม(ทักษะการเขียน) ระดับคะแนน ลักษณะของงาน 1 (ต้อง ปรับปรุง) - ไม่มีผลงาน -เขียนไม่ตรงประเด็น -ไม่มีการจัดระบบการเขียน -ภาษาที่ใช้ทำให้ผู้อ่านเกิดความสับสน -ใช้ศัพท์ที่เหมาะสม

เกณฑ์การประเมินโดยภาพรวม(ทักษะการเขียน) ระดับคะแนน ลักษณะของงาน 2 (ผ่าน) - เขียนได้ตรงประเด็นตามที่กำหนดไว้ -มีการจัดระบบการเขียน เช่น คำนำ เนื้อหาและบทสรุป ชัดเจน -ภาษาที่ใช้ ทำให้ผู้อ่านเกิดความสับสน -ใช้ศัพท์ที่เหมาะสม

เกณฑ์การประเมินโดยภาพรวม(ทักษะการเขียน) ระดับคะแนน ลักษณะของงาน 3 (ดี) - เขียนได้ตรงประเด็นตามที่กำหนดไว้ - มีการจัดระบบการเขียน เช่น คำนำ เนื้อหา และบทสรุป อย่างชัดเจน - ภาษาที่ใช้ มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ทำให้ผู้อ่าน เข้าใจง่าย - มีแนวคิดที่น่าสนใจ ใช้ภาษาสละสลวย

เกณฑ์การประเมินแบบ Analytic Rubrics ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน) ๑. องค์ประกอบของแผนภูมิ  มีองค์ประกอบสำคัญ ครบถ้วน ได้แก่ ชื่อแผนภูมิ มาตราส่วน ชื่อแกนนอน ชื่อแกนตั้ง ขาดองค์ประกอบสำคัญใด 1 องค์ประกอบ ขาดองค์ประกอบสำคัญ มากกว่า ๑ รายการ ๒. ขนาดและระยะ ห่างของ แผนภูมิ  ขนาดและระยะห่างของแท่งแผนภูมิเท่ากันทั้งหมด ขนาดและระยะห่างของแท่งแผนภูมิไม่เท่ากัน ๑ แห่ง ขนาดและระยะ ห่างของแท่งแผนภูมิไม่เท่ากัน มากกว่า๑ แห่ง

เกณฑ์การประเมินแบบ Analytic Rubrics ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน) ๓. การกำหนดมาตราส่วน  กำหนดมาตราส่วน ได้เหมาะสมสอดคล้อง กับข้อมูล กำหนดมาตราส่วนไม่เหมาะสมกับข้อมูล ไม่มีการกำหนด มาตราส่วน   ๔. ความครบถ้วนถูกต้องของข้อมูล ข้อมูลถูกต้องและครบถ้วน ข้อมูลถูกต้องหรือครบถ้วนอย่างใดอย่างหนึ่ง ข้อมูลไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

การให้คะแนนการเขียนแสดงความคิดเห็น ประเด็นการประเมิน - การใช้ภาษา - เนื้อหา - ความสมเหตุสมผล เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็น การประเมิน 4 3 2 1 การใช้ภาษา ถูกต้องตาม หลักไวยากรณ์ 80% - 100% 60% - 80% 40% - 60% ต่ำกว่า 40%

การให้คะแนนการเขียนแสดงความคิดเห็น ประเด็นการประเมิน - การใช้ภาษา - เนื้อหา - ความสมเหตุสมผล เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็น การประเมิน 4 3 2 1 เนื้อหา ครอบคลุมและ มีรายละเอียด ทุกแง่มุม ครอบคลุม แต่ขาด รายละเอียด บางประเด็น ไม่ครอบคลุม และขาด และไม่มี

ตัวอย่าง บันทึกการประเมินผลการกล่าวสุนทรพจน์โดยใช้วิดีโอเทป ตัวอย่าง บันทึกการประเมินผลการกล่าวสุนทรพจน์โดยใช้วิดีโอเทป เรื่องที่พูด ……………………………………………………………………. ชื่อผู้พูด ……………………………………………………………………… ระดับเสียง คะแนน ไม่สามารถ ได้ยิน 1 ยากที่จะ ได้ยิน 2 ส่วนใหญ่ ได้ยิน 3 ได้ยิน ง่าย 4 3 การใช้สายตา คะแนน ไม่ใช้ สายตา 1 แทบจะ ไม่ใช้สายตา 2 ใช้สายตา บางครั้ง 3 ใช้สายตา ได้ดี 4 3

14 - 16 = A 11 - 13 = B 8 - 10 = C ต่ำกว่า 8 ไม่ผ่าน จุดสนใจ คะแนน สื่อความหมาย ไม่ได้ 1 บางครั้ง ไม่เข้าใจ 2 ส่วนใหญ่ เข้าใจ 3 เข้าใจ ชัดเจน 4 3 การใช้สื่อ คะแนน ไม่มีสื่อ 1 สื่อดีแต่ไม่ใช้ 2 สื่อช่วยให้ พูดดีขึ้น 3 ใช้สื่อ สร้างสรรดี 4 3 รวม 12 เกรด 14 - 16 = A 11 - 13 = B 8 - 10 = C ต่ำกว่า 8 ไม่ผ่าน

เรื่องเกณฑ์พัฒนาสื่อการโฆษณา คุณลักษณะ 1. ขนาด 2. สี เกณฑ์การให้คะแนน 1 เล็กเกินไป ที่จะมองเห็น ไม่มีสี 2 สามารถมอง เห็นได้บ้าง มีสีบ้าง 3 ขนาดโต พอดี เต็มไปด้วย สีสรร

เรื่องเกณฑ์พัฒนาสื่อการโฆษณา คุณลักษณะ 3. การ ออกแบบ 4. เนื้อหา เกณฑ์การให้คะแนน 1 ไม่เป็นงาน กราฟฟิค ไม่เกี่ยวกับ เรื่องที่พูด 2 เป็นงาน เกี่ยวกับเรื่อง ที่พูด 3 สร้างสรรค์ กระตุ้นให้ ข้อคิดใน การพูด ระดับคะแนน 10 - 12 = A 6 - 9 = B 4 - 5 = C รวม 9 = B

ขั้นตอนในการสร้างเกณฑ์ 1. กำหนดแนวทาง/องค์ประกอบของเกณฑ์ 2. กำหนดประเภทของเกณฑ์ 3. กำหนดจำนวนระดับของเกณฑ์ 4. เขียนคำอธิบายของเกณฑ์ 5. พิจารณาคำอธิบายของเกณฑ์

จุดมุ่งหมาย ของการใช้เกณฑ์การให้คะแนน 1. ช่วยพัฒนาผลงานของผู้เรียน 2. ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้ความคิดใน การพิจารณาคุณภาพของตนเองและผู้อื่น 3. ช่วยในการอธิบายเหตุผลการให้คะแนน ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย

ข้อเสนอแนะ 1. ผู้สอนและผู้เรียนควรกำหนดเกณฑ์ ร่วมกัน 2. ควรจัดทำให้เสร็จก่อนที่ผู้เรียน จะได้ลงมือปฏิบัติงาน

ประโยชน์ 1. ช่วยให้เกิดความชัดเจน / ยุติธรรม ในการประเมิน 2. ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ตามเป้าหมาย