กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา ภ.ก.สมชาย ละอองพันธุ์ E-mail: twoseadj@gmail.com 086-6940954

แผนที่กองทุนสุขภาพตำบล เขต 12

กลไกร่วมระหว่างสปสช.กับกลไกทางสุขภาพ เขต จังหวัด/อำเภอ ตำบล เขตบริการสุขภาพ สปสช.เขต/ อปสข. กขป. พชจ. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ กองทุนสุขภาพตำบล ตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลจัดการสุขภาพ กองสุขภาพตำบล ชุมชนเข้มแข็ง ไทยเข้มแข็ง หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

การพัฒนากองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่น พัฒนาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงอย่างเข้มข้น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สื่อสาร แบ่งปัน พัฒนาระบบITในการจัดเก็บข้อมูล ปรับปรุงระบบการส่งข้อมูลจากท้องถิ่น ลดการส่งด้วยเอกสาร คืนกลับข้อมูลและผลลัพธ์กิจกรรมแก่ผู้เกี่ยวข้อง เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาโครงการ พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการ เรียนรู้ผ่านโครงการที่ดี สร้างชุดโครงการที่เหมาะสมในเขต และสื่อสารเพื่อนำไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับพื้นที่

บูรณาการภารกิจที่เกี่ยวข้องของสช. สปสช. และสสส. ในระดับพื้นที่ กิจกรรมที่ตอบสนอง ต่อปัญหาในพื้นที่ กองทุน สุขภาพท้องถิ่น พัฒนาโครงการ สอดคล้องกับพื้นที่ Mapping คนทำงาน เครือข่ายสสส. สช. และสปสช. พัฒนาทีมพี่เลี้ยงจังหวัด ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่

ภาพรวมเงิน UC ปี 62 กองทุนย่อย ไต ลอกต้อ อบจ. ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ส่งเสริมป้องกัน** กองทุนย่อย ส่งเสริมป้องกันระดับชาติ(PP_nation) ไต ส่งเสริมป้องกันระดับเขต PP_A (4บ./ปชก.) ลอกต้อ ส่งเสริมป้องกันในหน่วยงานสาธารณสุข(PP_Basic) (360บ.) ส่งเสริมป้องกัน_ชุมชน** 45 บ./ปชก. กองทุนดูแล ผู้สูงอายุ ฯ กองทุนฟื้นฟู 16บ./ปชก. อปท. สมทบ 30-60% อบจ. สมทบ 100%

2549 อปท.นำร่อง 888 แห่ง 2554 อปท.เต็มพื้นที่ผ่านการประเมิน 2552 อปท.ที่มีความพร้อม 2554 อปท.เต็มพื้นที่ผ่านการประเมิน 2557 ประกาศหลักเกณฑ์บริหารกองทุน (ให้ อปท.บริหาร) **2561 ประกาศหลักเกณฑ์บริหารกองทุน ฉ.ใหม่สุด 2552 ประกาศหลักเกณฑ์บริหารกองทุน (ให้กลุ่มคนบริหาร) ข้อแตกต่างระหว่าง ประกาศ(61)57 และ 52 1.อปท.ต้องเป็นผู้บริหารกองทุน ภายใต้คณะกรรมการบริหารกองทุน 2.เงินเหลือส่งคืนกลับกองทุน (เดิมจะไม่ต้องส่งคืนเป็นของผู้รับทุน)

ทิศทางการทำงานแก้ปัญหาสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพตำบล จากข้อมูล (Health Need Assessment) คนไทยสูญเสียช่วงชีวิตที่อยู่อย่างมีความสุข ไปถึง 10.2 ล้านปี หรือ 10.2 ล้าน DALY ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ บริโภคแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง การไม่สวมหมวกนิรภัย ภาวะคอเลสเตอร์รอลสูง การบริโภคผักไม่เพียงพอ ภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน เพศสัมพันธุ์ที่ไม่ปลอดภัย สถานการณ์โรคชายและหญิง อันดับ 1 โรคมะเร็งทุกชนิด อันดับ 2 โรคหัวใจและหลอดเลือด อันดับ 3 โรคหอบหืด COPD อันดับ 4 โรคเบาหวาน อันดับ 5 อุบัติเหตุ แผนสุขภาพ โครงการ

ตัวชี้วัดการดำเนินงานของกองทุนฯที่เข้มแข็ง มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและ ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของชุมชน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และสามารถลด ปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน มีระบบติดตามประเมินผล 04/04/2019

สถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชนจากการระดมความเห็นจากชุมชน 1.ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด 2.ความปลอดภัยในชุมชน อาชญากรรม อุบัติเหตุ 3.โรคเรื้อรัง (เชิงรุกในชุมชน หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คัดกรองตาต้อ กระจก ลดภาวะโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน ) 4.โรคติดต่อ ( โรคไข้เลือดออก ฉี่หนู มาลาเรีย มือเท้าปาก) 5.อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว( ตย.โรงเรียนพ่อแม่ ) 6.ผู้สูงอายุ (สนับสนุนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผสส.) 7.อาหารและโภชนาการ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ พัฒนาการเด็ก) 8.สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการขยะ 9.กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง (พฤติกรรม อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม)

Module แผนสุขภาพตำบล

ประกาศข้อ 10 หลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯ พ.ศ.2561.. กำหนดดังนี้ เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือ ส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่าย ตามแผนงาน หรือโครงการ หรือ กิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ คณะกรรมการมีอำนาจทางปกครอง/ออกคำสั่งทางปกครอง(อนุมัติ/ไม่อนุมัติ) -ประชุมต้องชอบด้วยกฎหมาย(มากกว่าครึ่งของจำนวนกรรมการ เช่น มี ก.ก. 15คน ต้องประชุมอย่างน้อย 8 คน อนุมัติโครงการเสียงเกินกึ่งหนึ่ง) -โครงการที่ทำก่อน คณะกรรมการอนุมัติ ไม่ผ่านกรรมการ โครงการมิชอบ เป็นโมฆะ อนุมัติ ค่าใช้จ่าย เงื่อนเวลาทำงาน(ระยะเวลาทำงาน ควรเป็นไปตามปีงบประมาณ แต่ไม่ห้ามให้ทำงานข้ามปีงบประมาณก็ได้ ส่งสรุปผลงาน เอกสารการเงิน ภายหลังเสร็จงาน 1 เดือน

แนวทางสนับสนุนโครงการตาม-ร่าง-ประกาศฯ ฉ.61 ประเภท หน่วยงานที่ขอรับ ขอบเขตกิจกรรม เงื่อนไข 10 (1) หน่วยบริการ(โรงพยาบาลอำเภอ/รพ......) สถานบริการ (รพ.สต. –คลินิกแพทย์เอกชน-รพ.เอกชน) หน่วยงานสาธารณสุข (สนง.สาธารณสุขอำเภอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) จัดบริการสาธารณสุข (ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาปฐมภูมิเชิงรุก) ให้สอดคล้องกับสภาพของโครงการ 10(2) กลุ่มประชาชน(ชาวบ้าน 5 คนรวมกลุ่มไม่ต้องจดทะเบียน)/ชมรม/มูลนิธิ/หน่วยงานอื่น(ไม่ต้องมีสนง.ในพื้นที่) กระบวนการหรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค วัสดุที่มีลักษณะครุภัณฑ์ไม่เกิน 10,000บาท/โครงการ 10(3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ศูนย์พัฒนาผู้สูงอายุ/ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการหรือชื่ออื่น หรือหน่วยงานอื่นที่รับผิดชอบงาน ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาปฐมภูมิเชิงรุก 10(4) สำนักเลขากองทุนฯ หรือ หน่วยงานและเจ้าหน้าที่รับการแต่งตั้ง บริหารจัดการให้กองทุนมีประสิทธิภาพไม่เกิน 15%รายรับปีนั้น(มี Ltc < 20%) ครุภัณฑ์ตามความจำเป็น 10(5) หน่วยงานใดก็ได้ที่มีความพร้อม(ตั้งงบไม่พอ)/แสดงมติการกันเงินและมอบอำนาจการเบิกจ่ายให้นายก อปท. บรรเทาปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้น จากภัยพิบัติหรือโรคระบาด กันไว้ 5-10% หรือตามสถานการณ์ หรือโอนให้หน่วยงานที่ทำโครงการเลย

หลักการพิจารณาโครงการ สอดคล้องวัตถุประสงค์(ไม่สร้างรายได้ นันทนาการ ศาสนา ประเพณี) ไม่ซ้ำซ้อนงบปกติ (ควบคุมโรคติดต่อ ไข้เลือดออก) ค่าใช้จ่ายต้องเหมาะสม คุ้มค่า (ไม่ฟุ่มเฟือย) กรณีศึกษา แจกของรางวัลถ้วนหน้า (แจกผ้าขาวม้าในกิจกรรมขลิบอวัยวะ / ผ้าถุง คัดกรองมะเร็งปากมดลูก(ให้เหตุผลว่าเป็นอุปกรณ์เพื่อความ สะอาดได้)  ประกวดมอบรางวัล (มอบโล่รางวัล ประกาศนียบัตรได้)  ทัศนศึกษาดูงานอย่างเดียว/ซื้อเสื้อแจก คณะกรรมการ อบรมพัฒนาศักยภาพอย่างเดียว( อบรม อสม.)  จัดงานสร้างกระแสครั้งเดียวจบ เช่น จัดแรลลี่จักรยาน วิ่งมาลา ทอน เป็นต้น  แข่งขันกีฬาแบบครั้งเดียวจบ เช่น กีฬานักเรียน เด็กเล็ก คน สูงอายุ

ความเข้าใจคลาดเคลื่อนของ คณะกรรมการและ อปท. กองทุนฯจะสนับสนุนงบประมาณดำเนินโครงการแก่ผู้รับทุน ต้องใช้ระเบียบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ้างอิงทุกประเด็น กับผู้รับทุน (ไม่จริง) ใช้ประกาศกองทุนฯ ปี 2557(61) เป็นสำคัญ เนื่อง สปสช.มีระเบียบกองทุนของหน่วยงาน เมื่อคณะกรรมการกองทุนฯอนุมัติและโอนเงินยังหน่วยงาน รับทุนแล้ว การให้ได้มาหรือนำเงินไปใช้ให้เป็นไปตาม ระเบียบหน่วยงานรับทุน เช่น ในโครงการมีการจัดซื้อของ การดำเนินการจัดซื้อต้องเป็นไปตามระเบียบของหน่วยงานที่ รับทุน 7(4) การซื้อครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุน ต้องใช้ระเบียบ ของ อปท.โดยอนุโลม 7(4) หากมีกิจกรรมจ้างลูกจ้างกองทุนฯ และการให้ได้มา ซึ่งลูกจ้าง เช่น การคัดเลือก หรือการจัดจ้าง ก็นำเอา ระเบียบของ อปท.มาใช้โดยอนุโลม

ความเข้าใจถูกต้องและคลาดเคลื่อนของ คณะกรรมการและ อปท. กลุ่มบุคคลที่ขอรับทุนตาม 7(2) ไม่ต้องจดทะเบียนเป็นชมรม หรือ นิติบุคคลก็ได้ เงินกองทุนสุขภาพตำบล ใช้ได้กับบุคคลบัตรทองเท่านั้น ไม่จริง ทำโครงการกับทุกสิทธิ ผู้มาร่วมโครงการเป็นบุคคลนอกพื้นที่จำเป็น เช่น มาเรียน มาติด คุก หรือมาพักอาศัย แม้จะมีทะเบียนบ้านอยู่ที่อื่นย่อมทำได้ ยกเว้น การจัด event ซึ่งเล็งเห็นผลแล้วว่า มีบุคคลนอกพื้นที่มาร่วมแน่นอน ต้องคืนเงินสำหรับการใช้จ่ายกับบุคคลนอกพื้นที่ สามารถมีได้และเขียนไว้ในโครงการค่าตอบแทนนอกเวลา บุคคลภายนอกได้ (อสม.ก็มีได้) เข้าใจผิดว่า หน่วยบริการ(รพ.ชุมชน) สถานบริการ(รพ.สต. คลินิก เอกชน)หน่วยงานสาธารณสุข(กอง สธ. และ สสอ.) ค่าครุภัณฑ์ต้อง ไม่เกิน 20,000 บาท(ไม่จำกัด) กองทุนควรจัดทำแผนสุขภาพชุมชน เป็นของกองทุนและสามารถ ปรับได้เสมอ

ความเข้าใจถูกต้องและคลาดเคลื่อนของ คณะกรรมการและ อปท. ปลัด อปท.เข้าใจผิด แผนสุขภาพชุมชนของกองทุนฯ ทั้งหมดต้องนำเข้าไปในเทศบัญญติ ไม่จริง เอาเฉพาะ กิจกรรมหรือโครงการที่หน่วยงานของ อปท.รับทุนจากกองทุน มาเข้าบัญญัติไว้ในแผน อปท. โครงการบริหาร 15 % สามารถใช้กับบุคคลภายนอกได้ แต่ ต้องเป็นไปเพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารกองทุนฯ เช่น กรณี ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต้องไปเข้าร่วมการเขียน โครงการ แกนนำอาสาญาลันนันบารูร่วมการเขียนโครงการ ที่จำเป็นต่อการพัฒนาประสิทธิภาพกองทุนได้ โดยเขียนเป็น กิจกรรมในโครงการ ย่อมเบิกเงินบริหารได้ งบบริหาร 20%ใช้บริหารกองทุน LTCด้วย เช่น ประชุม คณะอนุกรรมการ LTC- และอื่นๆที่จำเป็น

ค่าใช้จ่ายตามกิจกรรม ประชุมอบรม ลงปฏิบัตการพื้นที่  (ทั้งวัน) (-) (ถ้ามี) แนบกำหนดการ ค่าอาหารกลางวัน และเครื่องดื่ม ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าตอบแทนค่าวิทยากร ค่าใช้สอย เช่น ค่าเช่าสถานที่ เครื่องเสียง เป็นต้น ค่าพาหนะหรือชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าวัสดุและครุภัณฑ์ ค่าจ้างเหมา(พ่นยุง)…….. ค่าตอบแทนนอกเวลา

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มวัยทำงาน

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ

ชุดสิทธิประโยชน์เพื่อรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

โปรแกรมบริหารกองทุนสุขภาพตำบล ช่วยให้ผู้รับทุนพัฒนาโครงการเองได้ Module แผนสุขภาพ 10 ประเด็น Module พัฒนาโครงการ Module ติดตามโครงการ พิมพ์เอกสารโครงการ สถานการณ์สุขภาพ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการสำคัญ งบประมาณ โครงการที่ควรทำ(พัฒนา) โครงการที่ดำเนินการแล้ว หลักการและที่มาของปัญหาวัตถุประสงค์ เป้าหมาย กิจกรรม และรายละเอียดงบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เสนอคณะกรรมการพิจารณา ดำเนินโครงการ บันทึกกิจกรรม รูปภาพและเอกสารการเงิน เอกสารสรุปโครงการ จัดการสมาชิกผู้รับทุน

สถานการณ์การบริหารการเงินกองทุนสุขภาพตำบล ปี 61 เขต 12 สงขลา