คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10 คณะที่ 2 การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10
Context เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) การบูรณาการงานร่วมกันของโรงพยาบาล,สสอ.รพสต.,ชุมชน ท้องถิ่นในการดำเนินการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพตามบริบท เป้าหมาย เพื่อประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพและได้รับความไว้วางใจมาตรฐาน รูปแบบ การจัดการปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ตามแนวทาง DHS - PCA , UCCARE (six building blocks) มาตรการการดำเนินการ ปี 2559 ตาม System approach การนิเทศงานผ่านตัวชี้วัด DHS-PCA appreciation , HA Forum , Service plan และการ ดำเนินการบูรณาการ 5 กลุ่มวัย ตาม Issue approach ปัญหาตามบริบทพื้นที่ (ODOP) 3 เรื่อง , การค้นหาปัญหาตาม Essential care นโยบายที่สำคัญ อุบัติเหตุ , การดูแลผู้ป่วยระยะยาว (LTC) , กลุ่มโรคไตเรื้อรัง (CKD) การดูแลกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุ , ผู้พิการ , Palliative Care , เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการล่าช้า) ดดยทีมหมอครอบครัว เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ การพัฒนาตามองค์ประกอบ UCCARE และยกระดับขึ้นหนึ่งระดับทุกข้อ หรือระดับ3ขึ้นไปทุกข้อ ตามแนวทาง DHS –PCA การพัฒนาตามนโยบาย 3 เรื่อง 1) มีการกำหนดจุดเสี่ยง 1 จุด ต่อ 1 อำเภอเพื่อแก้ไขปัญหา อุบัติเหตุ 2) มี CKD คลินิก เพื่อคัดกรองและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรค ไตเสื่อม 3) กลุ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุติดบ้าน-ติดเตียง,ผู้พิการ ,Palliative care,เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า) ได้รับการดูแล โดยทีมหมอครอบครัวอย่างน้อย 60% ปัญหาตามบริบทพื้นที่ (ODOP) 3 เรื่อง นโยบายสำคัญ (accident, LTC, CKD) การดูแลกลุ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุ, ผู้พิการ, Palliative Care, เด็ก 0-5 ปีพัฒนาการล่าช้า) โดยทีมหมอครอบครัว
- ประชุมภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนงาน DHS Input Man - ประชุมภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนงาน DHS - อบรมทีมสนับสนุน ครู ก, ครู ข - อบรม/ประชุมทีมบริการ CM, CG, อสม.รักษ์ไต - DHML/DHB - ศูนย์ดูแลต่อเนื่อง COC - การเยี่ยมบ้านคุณภาพ INHOMESSS Money - งบ PP - งบกองทุนสุขภาพตำบล - งบประมาณเขตสุขภาพที่ 10 - งบประมาณ NGO, สสส. Material - โปรแกรมเยี่ยมบ้าน
Process จัดทำแผนปฏิบัติการระดับอำเภอ Single Plan ใช้ DHS แก้ไขปัญหาตามบริบทของพื้นที่ (ODOP ตาม Essential care 3 เรื่อง และ ODOP ตามนโยบายสำคัญ 3 เรื่อง) พัฒนาทักษะทีมตรวจประเมิน และเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA พัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง (Continuity of care : COC) เพื่อเชื่อมโยงการดำเนินงาน กับ Service plan และการดูแลกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิงโดยทีมหมอครอบครัว การเยี่ยมบ้านคุณภาพโดยใช้ INHOMESSS ฉบับ จนท. และ อสม. เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน DHS/FCT/COC/DHML หมู่บ้านจัดการสุขภาพ และตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ สมัชชาสุขภาพเปิดโอกาสให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม
Product มีแผนปฏิบัติการที่เกิดจาก การร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมเรียนรู้ มีผลการประเมินตนเอง UCARE-C โดยคณะกรรมการ และภาคีเครือข่าย มีการดูแลสุขภาพตามกลุ่มภาวะพึ่งพิง โดยทีม FCT มีการพัฒนา CM , CG สนับสนุนการดำเนินงานพื้นที่เป้าหมาย LTC รพ. มีการจัดตั้งศูนย์ดูแลต่อเนื่อง (Continuity of care : COC) ระดับอำเภอ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน FCT ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด ทุก รพ. มีการจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง CKD Clinic มีการกำหนดและแก้ไขจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย อำเภอละ 5 จุด
Impact มีการบูรณาการงานร่วมกันของโรงพยาบาล,สสอ. รพ.สต., ชุมชน และท้องถิ่น ในการดำเนินการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพตามบริบท ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจในมาตรฐาน
ข้อค้นพบ CM, CG ลงทุนสูง ยังไม่มีผลลัพธ์ที่ชัดเจน LTC มีกระบวนการทำงานยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่สามารถเบิกจ่ายงบประมาณตามขั้นตอนแนวทางที่ชี้แจงได้ หลายอำเภอไม่สามารถจัดตั้ง CKD Clinic ได้ เนื่องจากมีปัญหาด้านค่าใช้จ่าย LAB
Best Practice เกิดรูปแบบการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ ตามบริบท หมอครอบครัวออนไลน์ : ศรีสะเกษ เครือข่าย คบส. : ศรีสะเกษ เขื่องในโมเดล (DM&HT) : อุบลราชธานี โนนมะเขือปลอดเหล้า : อุบลราชธานี การลงนามความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ : ยโสธร คนคำเขื่อนแก้วสุขภาพดีอย่างยั่งยืน : ยโสธร
คนคำเขื่อนแก้ว สุขภาพดีอย่างยั่งยืน 1.อายุเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 80 ปี 2.อายุเฉลี่ยการมีสุขภาพดี 72 ปี 1.ดูแลกันและกันดี 2.สะอาดดี 3.แม่และเด็กสุขภาพดี 4.วัยเรียนวัยรุ่นพฤติกรรมดี 5.ดูแลตนเองดี - การดูแลต่อเนื่อง – สะอาดปราศจาค ลูกน้ำยุงลาย -เลี้ยงลูกด้วยนมแม่6เดือน -พัฒนาการเด็ก -ลดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม -ตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น -เบาหวาน -ความดัน - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง กระบวนการ 5:5:5 ขับเคลื่อน วาระสุขภาพ 5 ดี 5 5 5 ขั้นตอน ร่วม เครือข่าย 1. ร่วมคิด 2. ร่วมทำ 3. ร่วมรับผิดชอบ 4. ร่วมกำกับ ประเมินผล 5. ร่วมพัฒนา 1. จัดทำแผนสุขภาพ 5 ภาคีเครือข่าย 2. มีข้อมูลข่าวสารโรคและภัยสุขภาพ 3. บูรณาการงบประมาณ 4. ขับเคลื่อนงานด้วย 5 ภาคีเครือข่าย 5. การกำกับ ประเมินผล 1. ท้องถิ่น 2. ท้องที่ 3. การศึกษา 4. ศาสนา 5. สาธารณสุข บวร PDCA SI3M
ข้อเสนอแนะ ควรใช้ DHML ร่วมกับการขับเคลื่อนงาน DHS ควรนำสมัชชาสุขภาพ และธรรมนูญสุขภาพ มาใช้ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพทุกระดับ ควรนำ INHOMESSS มาใช้ในการดำเนินงาน FCT ควรนำระบบสารสนเทศเข้ามา M&E ทีม FCT การจัดหาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และสหวิชาชีพอื่น ๆ การพัฒนา อสม. ในการเยี่ยมบ้านโดยใช้ INHOMESSS
ควรมีการพัฒนาระบบสุขภาพทุกระดับ DHS ออกแบบระบบงานที่ชัดเจน ต่อเนื่อง การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่ องค์ความรู้ นโยบาย วาระสุขภาพอำเภอ มีกลไกการดำเนินงานในตำบลที่ชัดเจน บูรณาการทั้ง ท้องถิ่น/ท้องที่/ อสม./สธ มีเจ้าภาพหลัก /เจ้าภาพรอง/มีนโยบายสาธารณะ/การพัฒนากำลังคนเชิงคุณภาพ/การเสริมแรงจูงใจคนทำงาน/ผู้ป่วยในพื้นที่ THS มีกิจกรรมในระดับชุมชนที่ชัดเจน มอบหมายภารกิจที่ชัดเจนในชุมชน มี อสม. เชี่ยวชาญด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการติดตามประเมินผล รายบุคคล โดย อสม. (NCD คุณภาพระดับชุมชน) VHS หมู่บ้านจัดการสุขภาพ/ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สิ่งที่ฝากถึงผู้บริหาร การขับเคลื่อน PCC เหมาะสมกับเขตเมือง ในชุมชนนอกเขตเมืองควรศึกษา และเตรียมความพร้อมก่อนการดำเนินการ
DHS : District Health System “มุกศรีโสธรเจริญราชธานี”