กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ วาระการประชุม เดือนมิถุนายน ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ Sisaket Provincial Public Health Office กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ศูนย์ยุติวัณโรคจังหวัดศรีสะเกษ
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียนไตรมาสที่ 1/2561(ตุลาคม-ธันวาคม 2560) 25 85% Success On treatment Died lost TO ข้อมูลจาก TBCM Online 28 มิถุนายน 2561
อัตราการรักษาสำเร็จ(Success)ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ตาม PA
วัตถุประสงค์ กำกับติดตามประคับประคองผู้ป่วยที่กำลังรักษา ให้รักษาสำเร็จภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2561 บันทึกข้อมูลการรักษาหายหรือรักษาครบให้ครบถ้วน ใน TBCM Online ให้แล้วเสร็จภายใน วันที่ 31 สิงหาคม 2561 กำกับดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนรักษาทุกราย ตามนโยบาย 2-2-2 2 : ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยถึง รพท รพช./รพช. รพ.สต. ภายใน 2 วัน 2 : ดูแลแบบใกล้ชิดภายใน 2 สัปดาห์ (จนท.เป็นพี่เลี้ยง(dot)หรือติดตามกำกับการกินยาให้ครบ14วัน) 2 : กำกับติดตามการรักษาแบบเข้มข้นภายใน 2 เดือน (จนท.เป็นพี่เลี้ยง(dot)หรือติดตามกำกับดูแลการกินยาต่อเนื่องจนครบ2ด)
การเร่งรัดควบคุมไข้เลือดออก
สถานการณ์ไข้เลือดออก ปี 2561 สถานการณ์ไข้เลือดออก ปี 2561 ประเทศไทย จำนวนผู้ป่วย 22,539 ราย เสียชีวิต 29 ราย อัตราป่วย 34.45 ต่อแสนประชากร ณ วันที่ 25 มิย.61 จังหวัดศรีสะเกษ จำนวนผู้ป่วย 428 ราย ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราป่วย 31.33 ต่อแสนประชากร ณ วันที่ 26 มิย.61
ข้อมูล 20 มิย / 26 มิย
จังหวัดศรีสะเกษ มีอัตราป่วยเป็นลำดับที่ 40 ของประเทศ จังหวัดศรีสะเกษ มีอัตราป่วยเป็นลำดับที่ 40 ของประเทศ อันดับ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พื้นที่ที่มีรายงานการเกิดโรคไข้เลือดออก ระลอก 2 จังหวัดศรีสะเกษ พื้นที่ที่มีรายงานการเกิดโรคไข้เลือดออก ระลอก 2 จังหวัดศรีสะเกษ ลำดับ อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน 1 กันทรลักษ์ ขนุน โตนดตะวันตก,ตาเครือ 2 จานใหญ่ ซำโพธิ์ 3 รุง รุงตะวันออก 4 ละลาย 5 ขุขันธ์ กันทรารมย์ โคกโพน 6 ปรางค์กู่ สำโรงปราสาท - 7 หนองเชียงทูน
จำนวนผู้ป่วยใน 28 วันย้อนหลัง พื้นที่ระบาดของโรคไข้เลือดออก จังหวัดศรีสะเกษ ณ 20 มิถุนายน 2561 (2 รายขึ้นไปใน 28 วันย้อนหลัง) NO AMP_NAME TUM_NAME VIL_NAME จำนวนผู้ป่วยใน 28 วันย้อนหลัง 1 กันทรลักษ์ กุดเสลา หินกอง 2 ขนุน ตาเครือ 7 3 โตนดตะวันตก 4 จานใหญ่ ซำโพธิ์ 5 ทุ่งใหญ่ ทุ่งประทาย 6 ภูเงิน ซำผักแว่น รุง รุงตะวันออก 8 ละลาย คำโปรย 9 10 สวนกล้วย หนองหิน 11 เสาธงชัย ซำเม็ง 12 กันทรารมย์ โนนสัง ขี้เหล็ก 13 เมืองน้อย 14 ขุขันธ์ กฤษณา พรมแสง 15 โคกโพน 16 ตายอ 17 จะกง 18 ห้วยใต้ แดง 19 ห้วยสำราญ ตาฮี 20 เสลา
จำนวนผู้ป่วยใน 28 วันย้อนหลัง พื้นที่ระบาดของโรคไข้เลือดออก จังหวัดศรีสะเกษ ณ 20 มิถุนายน 2561 (2 รายขึ้นไปใน 28 วันย้อนหลัง) NO AMP_NAME TUM_NAME VIL_NAME จำนวนผู้ป่วยใน 28 วันย้อนหลัง 21 น้ำเกลี้ยง รุ่งระวี หนองแลง 2 22 ปรางค์กู่ พิมายเหนือ ไฮ-ไผ่ 3 23 สำโรงปราสาท ขนวน 24 หนองเชียงทูน ศาลา 5 25 ภูสิงห์ ห้วยตามมอญ ตามอญ 26 เมือง ซำ 27 ตะดอบ นาสูง 4 28 เปือยใหญ่ 29 ราษีไศล สร้างปี่ 30 หนองอึ่ง ขาม 31 ศิลาลาด หนองบัวดง หลักด่าน 32 ห้วยทับทัน จานแสนไชย ขี้เหล็ก 33 ผือ 34 เมืองหลวง จังเอิน 35 อุทุมพรพิสัย ก้านเหลือง หนองจินดาใหญ่ 36 กำแพง ตำแย 37 โคกหล่าม เหงี่ยง 38 สระฯใหญ่ ก่อ
ขอความร่วมมือ เร่งรัดการควบคุมโรคและกำจัดลูกน้ำในพื้นที่เกิดโรคไข้เลือดออก เปิดอีโอซี ในพื้นที่ระบาดมากกว่า 2ตำบล ผู้ป่วยไข้เลือดอกที่เสียชีวิต มีอายุที่มากขึ้น รพ.ทุกแห่งให้เตรียมพร้อมบุคลากรในการดูแลรักษาไข้เลือดออกในผู้ใหญ่ ช่วงที่มีการระบาดของไข้เลือดออกมาก ผู้ติดเชื้อไวรัสซิกาก็มีจำนวนมากเช่นกัน เมื่อพบผู้ป่วย ไข้ออกผื่น ให้คิดถึง ไข้ซิก้าด้วย
โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จังหวัดศรีสะเกษ
สถานการณ์การเกิดโรคพิษสุนัขบ้า ประเทศไทย
ผู้เสียชีวิต เดือนมิย.61 รายที่ 10-11/2561 รายที่ 10 เพศชาย อายุ 59 ปี อยู่จังหวัดระยอง ถูกสุนัขกัด ประมาณช่วงเดือนมีนาคม 2561 ไม่ได้ไปรับวัคซีน ระยะฟักตัว 3 เดือน รายที่ 11 เพศชาย อายุ 42 ปี อยู่จังหวัดกาฬสินธุ์ ถูกสุนัขกัด ประมาณช่วงเดือนมีนาคม 2561 ไม่ได้ไปรับวัคซีน ระยะฟักตัว 8 เดือน
สถานการณ์การเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ ส่งตรวจ 131 ตย บวก 48 ตย 36.64%
จำนวนผู้สัมผัสโรครายเดือนที่ได้รับวัคซีน จาก ร36 ประจำปี 2561 ลำดับที่ อำเภอ จำนวนผู้สัมผัสโรครายเดือนที่ได้รับวัคซีน จาก ร36 ประจำปี 2561 รวมรายอำเภอ มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน 1 ยางชุมน้อย 55 61 115 76 308 2 ภูสิงห์ 116 118 92 197 7 4 534 3 โนนคูณ 59 33 126 110 74 406 กันทรลักษ์ 312 304 783 139 356 2004 5 กันทรารมย์ 172 154 377 343 295 228 1569 6 ขุขันธ์ 245 173 616 583 447 293 2357 ขุนหาญ 149 164 391 349 262 194 1509 8 น้ำเกลี้ยง 97 90 233 202 123 99 844 9 บึงบูรพ์ 20 29 62 44 34 222 10 เบญจลักษ์ 39 58 15 19 225 11 ปรางค์กู่ 106 155 327 352 257 188 1385 12 พยุห์ 181 124 80 558 13 โพธิ์ศรีสุวรรณ 40 153 88 46 483 14 ไพรบึง 98 68 208 178 788 เมืองจันทร์ 24 79 52 23 246 16 เมืองศรีสะเกษ 131 307 56 21 649 17 ราษีไศล 119 130 330 275 260 1342 18 วังหิน 70 85 183 84 872 ศรีรัตนะ 81 69 168 177 121 692 ศิลาลาด 47 ห้วยทับทัน 63 96 160 144 702 22 อุทุมพรพิสัย 145 156 324 185 1080 รวมรายเดือน 1982 1971 4982 3591 3011 2037 17574
ขอความร่วมมือ กำกับติดตามเร่งรัดการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมรายงานผู้ สัมผัสโรค ร.36 ให้เป็นปัจจุบัน สสอ./รพ. การติดตามการรับวัคซีนให้ครบ 3 เข็ม เป็น อย่างน้อย (เข็มที่ 0,3,7) เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยโรค พิษสุนัขบ้า เฝ้าระวังอาการผิดปกติของสัตว์ในพื้นที่ เช่น สุนัข โค กระบือ แมว ให้ความร่วมมือกับปศุสัตว์
โรคเลปโตสไปโรซีส จังหวัดศรีสะเกษ2561
จำนวนและอัตราป่วยด้วย โรคเลปโตสไปโรซีส ปี 2556 – 2560 พ.ศ. 2556 2557 2558 2559 2560 2561 จำนวนผู้ป่วย 300 269 312 369 769 146 อัตราป่วย/แสน 20.75 18.67 21.29 25.61 53.37 9.97 จำนวนผู้เสียชีวิต 6 9 19 10 22 2 อัตราป่วยตาย(%) 2.00 3.35 6.09 2.71 2.86 1.37
ขอความร่วมมือ ดำเนินการป้องกันก่อนฤดูการระบาดของโรค ดังนี้ ขอความร่วมมือ ดำเนินการป้องกันก่อนฤดูการระบาดของโรค ดังนี้ ดำเนินการสื่อสารความเสี่ยงเชิงรุก ทุกตำบลทุกหมู่บ้าน ในชุมชนทุกเดือน มาตรการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยสงสัย ในระดับ รพสต. เพื่อการวินิจฉัยและการบำบัดรักษา หรือส่งต่อโดยเร็ว จัดระบบการคัดกรอง วินิจฉัยและรักษาโดยเร็ว ในโรงพยาบาล การเก็บตัวอย่างส่งตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ
พยาธิใบไม้ตับ
ผลการสุมประเมินความชุกโรคพยาธิใบไม้ตับ อำเภอละ 1 หมู่บ้าน จ ผลการสุมประเมินความชุกโรคพยาธิใบไม้ตับ อำเภอละ 1 หมู่บ้าน จ.ศรีสะเกษ ปี 2561
อำเภอที่พบความชุกพยาธิใบไม้ตับสูงสุด 5 อับดับแรก 1.อำเภอเบญจลักษ์ พบพยาธิใบไม้ตับร้อยละ 30.56 2.อำเภอศรีรัตนะ พบพยาธิใบไม้ตับร้อยละ 30.36 3.อำเภอน้ำเกลี้ยง พบพยาธิใบไม้ตับร้อยละ 20.00 4.อำเภอขุนหาญ พบพยาธิใบไม้ตับร้อยละ 11.59 5.อำเภอขุขันธ์ พบพยาธิใบไม้ตับร้อยละ 9.76 ความชุกพยาธิใบไม้ตับในภาพรวมจังหวัด ร้อยละ 7.15 มีอำเภอที่ความชุกต่ำกว่าภาพรวม 15 อำเภอ สูงกว่า 7 อำเภอ
ขอความร่วมมือ 1. กำกับให้มีการตรวจพยาธิในหมู่บ้านที่เป็นหมู่บ้านต้นแบบในแต่ละปีและตรวจซ้ำในหมู่บ้านที่ความชุกของพยาธิใบไม้ตับมากกว่าร้อยละ 5 ทุกปี 2.เน้นย้ำเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้กินปลาสุก-ปลาร้าสุก 3. ช่วยประสานเทศบาลในแต่ละอำเภอ ในการสร้างระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลจากรถสูบส้วม และบังคับใช้เทศบัญญัติ เพื่อให้ปลาปลอดพยาธิ
สวัสดี