งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สกลนครโมเดล.
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมคณะกรรมการ SP สาขาแม่และเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 8
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คู่มือ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สำหรับ Child & Family Team (CFT) เขตสุขภาพที่ 9.
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง ขอนำเสนอผลงานตามยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2561

อำเภอกะปง ม่านหมอก เมืองใต้ ผลไม้นานา ศรัทธา หลวงพ่อเซ่ง พระนารายณ์ ล้ำค่า

“มุ่งสู่เครือข่ายสุขภาพที่มีคุณภาพ ชุมชนมีส่วนร่วม ภายในปี 2564” เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง วิสัยทัศน์ “มุ่งสู่เครือข่ายสุขภาพที่มีคุณภาพ ชุมชนมีส่วนร่วม ภายในปี 2564”

เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอกะปง พันธกิจ 1.บริหารจัดการทรัพยากรและพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ 2.สร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3.เสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพและจัดการสิ่งแวดล้อม ให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี  4.ประสานความร่วมมือและพัฒนาระบบบริการของเครือข่ายฯ 5.สร้างระบบสุขภาพพอเพียงด้วยการจัดการความรู้และเปิดทางเลือก สุขภาพที่หลากหลาย

ทิศเหนือ จด อำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี ที่ตั้งและอาณาเขต ทิศเหนือ จด อำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี ทิศใต้ จด อำเภอเมืองพังงา ทิศตะวันออก จด อำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี ทิศตะวันตก จด อำเภอตะกั่วป่า สุราษฏร์ธานี ตะกั่วป่า อ.กะปง อ.เมือง

ข้อมูลทั่วไป จำนวนหลังคาเรือน จำนวนครอบครัว ประชากรจากการสำรวจ เพศชาย 3,860 หลัง จำนวนครอบครัว 4,442 ครัว ประชากรจากการสำรวจ 12,058 เพศชาย 5,998 คน เพศหญิง 6,060 คน

ข้อมูลด้านบริการสาธารณสุข โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง รพ.สต. จำนวน 8 แห่ง คลินิกเวชกรรม จำนวน 1 แห่ง คลินิกการพยาบาลผดุงครรภ์ จำนวน 5 แห่ง ร้านขายยาแผนปัจจุบัน จำนวน 3 แห่ง ร้านขายยาแผนโบราณ จำนวน 1 แห่ง

สถานบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน งานอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลที่ได้ รับการประเมินผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ได้รับการประเมิน ผ่านเกณฑ์ 1 แห่ง/ร้อยละ 100 8 แห่ง/ร้อยละ 100 จำนวนตำบลทั้งหมด ตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 5 100 ตำบลส่งเสริมเด็ก 0-5 ปีฯ 1 20

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ดัชนีชี้วัดงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕61 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ 86.59

ดัชนีชี้วัดงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕61 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ  75.31

ดัชนีชี้วัดงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕61 ร้อยละหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์  68.24

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ 1.การดำเนินงานของคณะทำงาน MCH Board ระดับอำเภอ 2.การพัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้รับผิดชอบงาน 3.การพัฒนาหน่วยบริการในคลินิกให้ได้มาตรฐาน 4.การพัฒนาระบบข้อมูล 5.การพัฒนางานให้เชื่อมโยงลงสู่ชุมชน 6.การขับเคลื่อนผ่านนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วัน

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ กิจกรรมระดับอำเภอ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การดำเนินงานของคณะทำงาน MCH Board ระดับอำเภอ 1. มีคำสั่งแต่งตั้ง MCH Board ระดับอำเภอ 2. รายงานการประชุมของ MCH Board ระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 ครั้ง 3. วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัญหา (GAPs) 1.ผลการดำเนินงานตามแผน 2. รายงานการประชุมของ MCH Board ระดับอำเภอ 1. ติดตามผลการดำเนินงานของ รพสต.ทุกแห่ง โดยทีม MCH Board ระดับอำเภอ 1. รายงานการ ประชุมของ MCH Board ระดับอำเภอ 2. รวบรวม สรุปผลการ ดำเนินงานแม่ และเด็กในเวที ประชุม MCH Board ระดับ จังหวัด

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ กิจกรรมระดับอำเภอ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2. การดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพตามแนวทางที่กำหนดใน รพ.และ รพสต. การพัฒนาบุคลากร 1. รพ/รพสต.รับทราบนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน 2. วิเคราะห์ข้อมูล ค้นหาปัญหาการดำเนินงานANC ที่ผ่านมาและแผนการดำเนินงาน 3.มีการกำหนดรูปแบบการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพในระดับอำเภอ ตามแนวปฏิบัติ 1. มีการกำหนดกิจกรรมและวันในการให้บริการANC ใน รพสต.ทุกแห่ง 2.มีแผนและผลการดำเนินงานประชาสัมพันธ์การดำเนินงานคลินิกฝากครรภ์   1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง ทุกคน 2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงได้รับการส่งต่อ รพ.ทุกราย 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและยาเสริมไอโอดีนทุกเดือนและทุกราย 4.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย อสม.ทุกราย 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝาก ก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์คุณภาพจาก รพ./รพสต. อย่างน้อยร้อยละ 60 2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงได้รับการดูแลตามแนวทางที่กำหนดร้อยละ 100 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและยาเสริมไอโอดีนทุกเดือนร้อยละ 100 4. รพ./รพสต.มีการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพตามแนวทางที่กำหนด

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3. รพ.มีการดำเนินงานห้องคลอดคุณภาพ 1. วิเคราะห์ปัญหาการ ดำเนินงานและข้อมูลการปะเมิน ตนเอง ตามแนวทางห้องคลอด คุณภาพ 2.แผนการแก้ไขปัญหา 1. ดำเนินงานตามแผนและ มาตรฐานงานห้องคลอดคุณภาพ 1. หญิงคลอดได้รับการแก้ไขปัญหา เพื่อลดความรุนแรงจากการตกเลือด และมีการส่งต่อตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ลดการตายของมารดาจากการ คลอด(PPH / Medical complication/ฯลฯ) 3. ลดอัตราการเกิด BA ไม่เกิน 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ 4. ลดอัตราทารกตายจากการคลอด 5.ห้องคลอดผ่านเกณฑ์ห้องคลอด คุณภาพ

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4. รพ./รพสต. มีการดูแลหญิงหลังคลอดคุณภาพ 1. วิเคราะห์ข้อมูลปัญหา การดำเนินงานหลัง คลอดและแผนแก้ไข ปัญหา 2.ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ / หญิงหลังคลอดทุกราย (ส่งต่อจากรพ.หรือ สำรวจจาก อสม.) 1.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดตามแนวทางที่กำหนด 3 ครั้งตามเกณฑ์ ทุกราย 2.หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้านโดย อสม.อย่างน้อย 1 ครั้ง 3.หญิงหลังคลอดได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและยาเสริมไอโอดีน อย่างน้อย 6 เดือนทุกคน 4.หญิงหลังคลอดที่มีความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย 1.หญิงหลังคลอดได้รับ การดูแลตามแนวทางที่ กำหนด ร้อยละ 100 2.ลดการตายมารดา หลังคลอด  

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5 การดำเนินงาน การขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต 1.ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน 2.วิเคราะห์ปัญหา แต่ละช่วงวัย 1.ขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต สร้างกระแสสังคมและสื่อสารสาธารณะทุกช่องทาง ให้หญิงตั้งครรภ์/พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กมีความตระหนักและรอบรู้สุขภาพ สร้างการมีส่วนร่วม พัฒนาศักยภาพบุคลากร จัดทำฐานข้อมูลระดับอำเภอ พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็กให้ได้ตามมาตรฐาน ติดตามและประเมินผล ผลลัพธ์แต่ละช่วงวัย

ดัชนีชี้วัดงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕61 ผลการดำเนินการการคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มอายุ 98.55 77.53

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ 1.การดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนาการเด็กระดับอำเภอ 2.การพัฒนาระบบข้อมูล/การบันทึกข้อมูล 3.พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่การให้บริการคัดกรอง 4.การดำเนินงาน WCC คุณภาพ 5.สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมชน ศพด. 6.การดำเนินงานตำบล ส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันดีไม่ผุ

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การดำเนินงานของผู้รับผิดชอบงานพัฒนาการทุกแห่ง 1.มีการวิเคราะห์ข้อมูลการ สภาพปัญหาและแผนการดำเนินงานพัฒนาการเด็ก (GAPs) และมีแผนการพัฒนาระดับอำเภอ   1.มีการติดตามผลการดำเนินงานของ รพสต.ทุกแห่ง 2.สรุปผลการดำเนินงาน รายงานการประชุมระดับอำเภอ 1.มีคณะทำงาน CPM ระดับอำเภอ นำเสนอการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย   2.การบันทึกข้อมูลพัฒนาการและโภชนาการเด็ก 0-5 ปี มีสภาพปัญหาที่ทำให้การบันทึกข้อมูลพัฒนาการเด็ก ในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ไม่มีคุณภาพ ไม่ครบถ้วน และไม่เป็นปัจจุบัน 1.มีข้อมูลการติดตามการดำเนินงานในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม / HDC ทุกเดือน ครบถ้วน ถูกต้อง 1.รพ.มีการบันทึกข้อมูลพัฒนาการและโภชนาการเด็ก 0-5 ปี อย่างถูกต้อง 2.รพสต./PCU มีการบันทึกข้อมูลพัฒนาการและโภชนาการเด็ก 0-5 ปี อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.การให้บริการคัดกรองพัฒนาการเด็กในสถานบริการ วิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหาการดำเนินงานของ รพสต.แต่ละแห่งและมีแผนแก้ไขปัญหาร่วมกันในระดับอำเภอ 1. มีรูปแบบการให้บริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กของ รพสต.และ รพ. ที่มีประสิทธิภาพ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ร้อยละ 90 1.เด็กอายุ 9,18,30,42,60 เดือนได้รับการรณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็ก ในช่วงเดือน กค. 60 /ร้อยละ 100 และเด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น ร้อยละ 100 2. เด็กอายุ 9,18,30,42,60 เดือนมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 3. เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 54 4. การดำเนินงานWCC คุณภาพใน รพ/ รพสต. รพ/รพสต . มีข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงาน WCC/โรงเรียนพ่อแม่ (GAPs) และ มีแผนการแก้ไขปัญหาทุกแห่ง   1. มีข้อมูลการพัฒนา WCC 2. มีการดำเนินงานโรงเรียนพ่อแม่ตามที่กำหนดและมีผลการดำเนินงาน ระดับอำเภอมีรการติดตามการดำเนินงานของ รพสต.ทุกแห่ง 1. รพ.(ห้องคลอดและWCC)ผ่านเกณฑ์คลินิกเด็กดีคุณภาพ ร้อยละ 100 2.รพสต. ผ่านเกณฑ์คลินิกเด็กดีคุณภาพ WCC ร้อยละ 100

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 6. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยใช้กระบวนการกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน สอนนับเลข 1 . ศพด./รร/สถานรับเลี้ยงเด็ก/ อสม. เชี่ยวชาญได้รับการอบรมความรู้และทักษะในการส่งเสริมและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก โดยเครื่องมือ DSPM ร้อยละ 100 2.รพสต.มีข้อมูล ประเมินมาตรฐาน ศพด.คุณภาพ 3.มีข้อมูลวิเคราะห์ส่วนขาดและแผนแก้ไขปัญหา 1. มีข้อมูลการติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กของ . ศพด./รร/สถานรับเลี้ยงเด็ก/อสม. เชี่ยวชาญ โดยทีม รพสต. 2. รพสต.มีข้อมูลการพัฒนา ศพด. 1. มีรายงานผลการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กของภาคีเครือข่าย 2. เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อไปยัง รพสต / รพ. 1ศพด. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 60 2. เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้k ระวังพัฒนาการเด็กโดยภาคี เครือข่าย ร้อยละ 80 3. เด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับ การส่งต่อไป รพสต. ร้อยละ 100  

มาตรการพัฒนาระบบงานในระดับอำเภอ มาตรการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 7.การดำเนินงานตำบล ส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันดีไม่ผุ 1.ชี้แจงนโยบายลงสู่ตำบล 2.ดำเนินการสำรวจ ค้นหาปัญหา 1.ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล ประเมินตนเอง ประเมินชุมชน ส่วนที่เกี่ยวข้อง 2.วิเคาะห์ข้อมูลจาการประเมิน เพื่อให้ทราบถึงปัญหา หรือกิจกรรมที่ยังดำเนินการไม่ครอบคลุม 3.จัดทำแผน/กิจกรรม/โครงการเพื่อแก้ไขปัญหา 4.ส่วนที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนงานที่กำหนด ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนงานที่กำหนด 2.ระดับอำเภอทำการประเมินพื้นที่ 3.สรุปผลการประเมินพิ้นที่ ค้นหาปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลระดับอำเภอ 4.จัดทำแผนงานระดับอำเภอ 5.ดำเนินการตามแผนงาน/กิจกรรม 6.สรุปผลการดำเนินงาน  

ขอบคุณค่ะ