ผลการดำเนินงานกิจกรรม 5ส.+

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
งานบริการการศึกษา.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
Community of Practice CoP มีหลายรูปแบบ เล็ก หรือ ใหญ่ มีอายุยืนยาว หรือ มีอายุสั้น อยู่รวมกัน หรือ กระจายตัว เป็นเนื้อเดียวกัน หรือ เป็น ส่วนผสมที่หลากหลาย.
Contribute “Stay strong not stand alone”. อ.ที่ปรึกษา อ.ดร.เขมกร ไชยประสิทธ์ บุคลากร พี่เดียร์ สโรชินี ศิลปานันทกุล ภาคการเงิน นุก น.ส.มณีรัตน์
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ศูนย์สุขภาพชุมชน (Mini Health Center)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การปฏิบัติการ 5 ส. การปฏิบัติการ 5 ส ส.5 ส.5 ระยะเริ่มต้น ระยะพัฒนา ระยะก้าวหน้า.
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงานกิจกรรม 5ส.+ ฝ่ายบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ (D19) อาคาร ดร.สตางค์ มงคลสุข (ติดห้องอ่านหนังสือคณะฯ) (ปัจจุบันอยู่ที่ อาคารศูนย์วิจัยและวิศวกรรมประยุกต์ ชั้น 5) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภารกิจหลักของฝ่ายบริการวิชาการ ส่งเสริมการให้บริการวิชาการของบุคลากรของคณะวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อให้เกิดการให้บริการวิชาการต่อชุมชนที่แพร่หลายและสนองต่อความต้องการของชุมชนและอุตสาหกรรมในท้องถิ่นภาคใต้ จัดและดำเนินการโครงการและกิจกรรมการฝึกอบรม สัมมนา รวมทั้งการให้คำปรึกษาแนะนำที่สอดคล้องกับความต้องการและเป็นประโยชน์ต่อท้องถิ่นโดยรวม ส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐ และเอกชน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน และการเกื้อกูลกันในลักษณะต่างๆ เป็นหน่วยงานกลางในการติดต่อประสานงาน ทั้งหน่วยงานภายใน และภายนอกคณะวิศวกรรมศาสตร์ในการให้และรับงานบริการวิชาการ ภารกิจหลักของฝ่ายบริการวิชาการ

คณะกรรมการดำเนินกิจกรรม สมาชิก ปี 51 ที่ปรึกษา คณะกรรมการดำเนินกิจกรรม ฝ่ายส่งเสริมวิชาการ ฝ่ายประเมินผล

เป้าหมายในการดำเนินกิจกรรม 5 ส. เพื่อให้สถานที่ทำงานมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยตามมาตรฐาน 5 ส. ของฝ่ายฯ เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม 5 ส. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสัมพันธภาพที่ดีในการทำงานร่วมกัน กระบวนการและกิจกรรมที่ดำเนินการ กำหนดและประกาศนโยบายและมาตรฐาน 5 ส. ปี 2551 ของ ฝ่ายบริการวิชาการให้บุคลากรได้รับทราบโดยทั่วกัน แต่งตั้งและมอบหมายงานกรรมการ 5 ส. จัดทำแผนงาน 5 ส. ร่วมกัน ดำเนินการปฏิบัติตามแผนการดำเนินงาน ติดตามผลการดำเนินงาน

มาตรฐานกิจกรรม 5 ส. ฝ่ายฯ เอกสารและแฟ้มเอกสาร เก็บเป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ การบ่งชี้เอกสารจะต้องตรงกับเอกสารที่อยู่ภายในแฟ้ม สามารถหาเอกสารในแฟ้มหรือในคอมพิวเตอร์ได้ภายใน 5 นาที เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน สะอาด เป็นระเบียบ ใช้งานได้ไม่ชำรุด ห้องครัว ตู้เย็น ไม่มีอาหารตกค้างเก็บอยู่ในครัว และตู้เย็น ไม่มีภาชนะที่ทิ้งไว้ค้างคืน (ยกเว้น แก้วน้ำ) การปฏิบัติงาน ปิดไฟ แอร์ พัดลมและอุปกรณ์อื่น ๆ เมื่อไม่ใช้งาน แจ้งเหตุ หรือรายงานข้อบกพร่อง และข้อขัดแย้งในการทำงานอย่างสม่ำเสมอ หมายเหตุ : กำหนดให้บุคลากรหลักของฝ่ายฯ หมุนเวียนกันปฏิบัติหน้าที่ประธานคณะกรรมการ 5 ส. ฝ่ายบริการวิชาการทุกปี โดยกำหนดตามรอบปีปฏิทิน

แนวคิด 8 ส. ในปี 2551 ฝ่ายบริการวิชาการได้เพิ่มกิจกรรมอีก 3 ส. ไว้ใน กิจกรรม 5 ส.+ คือ ส. ที่ 6 ส. เสนอแนะ (Suggestions) ส. ที่ 7 ส. สร้างสรรค์ (Super Creative) ส. ที่ 8 ส. สไมล์ (Smile) การปรับปรุงการทำงาน โดยใช้กิจกรรม/เทคนิค 5 ส. (+3 ส.) ใน ปี 2551 มีดังนี้

การจัดเก็บเอกสารโดยการสแกน ส. สะสาง เป้าหมายในการปรับปรุง เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารให้มากยิ่งขึ้น โดยการสแกน และจัดเก็บรูปของไฟล์ PDF ก่อนที่จะทำลายเอกสาร สภาพการณ์และข้อมูลก่อนปรับปรุง พื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารสำนักงานไม่เพียงพอ เนื่องจากเอกสารโครงการมีปริมาณมาก การดำเนินการปรับปรุง ทำการสแกนเอกสารของโครงการต่างๆที่ปิดเรียบร้อยลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ และCD โดยจัดเก็บให้อยู่ในรูปของไฟล์ PDF และแยกให้เป็นหมวดหมู่ จากนั้นจึงทำลายเอกสารนั้นๆ (ยกเว้นเอกสารบางอย่างที่จำเป็นต้องเก็บในรูปของเอกสาร) ผลการปรับปรุง มีพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารมากยิ่งขึ้น และสามารถแยกพื้นที่การเก็บเป็นสัดส่วนชัดเจน

ส. สะสาง สะดวก สะอาด After Before Big Cleaning Day (สะสาง, สะดวก, สะอาด) เป้าหมาย: จัดระเบียบ สร้างความสามัคคี และสร้างการทำงานกันเป็นทีม ก่อนการปรับปรุง: ขาดระเบียบในบางจุด การดำเนินการ: ร่วมกันจัดระเบียบทั้งภายในองค์กร รวมทั้งระบบเอกสาร ผล: มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากขึ้น ส. สะสาง สะดวก สะอาด Before After

เส้นทางที่เก็บไฟล์เอกสาร ส. สะดวก เป้าหมายในการปรับปรุง เพื่อให้สามารถค้นหาเอกสารในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว สภาพการณ์และข้อมูลก่อนปรับปรุง ไม่สามารถค้นหาไฟล์เอกสารในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาแก้ไขเพิ่มเติมได้ ในกรณีที่ผู้รับผิดชอบเอกสารไม่อยู่ การดำเนินการปรับปรุง มีการระบุเส้นทางที่เก็บไฟล์เอกสารไว้ด้านล่างของ เอกสารที่พิมพ์ และระบุชื่อผู้ที่พิมพ์เอกสารด้วย ผลการปรับปรุง สามารถค้นหาเอกสารในเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว

ส. สร้างนิสัย การตรวจประเมินภายใน เป้าหมาย: เพื่อกระตุ้นให้มีการทำ 5 ส.อย่างต่อเนื่อง ก่อนการปรับปรุง: ไม่มีการทำ 5 ส. อย่างต่อเนื่อง การดำเนินการ: แต่งตั้งกรรมการ และตรวจประเมิน 5 ส. ตามมาตรฐานฝ่าย ผล: มีการทำ 5 ส. อย่างต่อเนื่อง ส. สร้างนิสัย ตรวจสอบสวิตซ์ไฟฟ้าหลังเลิกงาน เป้าหมาย: ประหยัดพลังงาน ก่อนการปรับปรุง: อุปกรณ์บางประเภทไม่ได้ปิดสวิตซ์หลังเลิกงาน การดำเนินการ: ตรวจสอบสวิตซ์หลังเลิกงานทุกวัน ผล: ลดการใช้พลังงาน ประกวด Do Man เป้าหมาย: เสริมสร้าง กระตุ้น และให้กำลังใจผู้ที่ทำ 5 ส. อย่างต่อเนื่อง ก่อนการปรับปรุง: ไม่มีผู้ทำ 5 ส. อย่างสม่ำเสมอ การดำเนินการ: ประกวด Do Man ผล: บุคลากรในฝ่ายมีการทำ 5 ส.อย่างสม่ำเสมอ

ส. สร้างสรรค์ ประกวดออกแบบบอร์ด และคำขวัญ 5 ส. เป้าหมาย: เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดภายในองค์กร และส่งเสริมความกล้าแสดงออก ก่อนการปรับปรุง: บอร์ดไม่น่าสนใจ การดำเนินการ: จัดการประกวดโดยบุคลากรภายในฝ่ายบริการวิชาการ ผล: มีความตื่นตัวในการแสดงความคิดสร้างสรรค์ ส. สร้างสรรค์ จัดกิจกรรมดูงาน 5 ส. เป้าหมาย: เปิดโลกทัศน์กิจกรรม 5 ส. ก่อนการปรับปรุง: ขาดการศึกษาแนวทาง รูปแบบ และความหลากหลาย การดำเนินการ: ศึกษาดูงาน ณ โรงไฟฟ้าขนอม จ.นครศรีธรรมราช ผล: ได้รับความรู้และประสบการณ์ตรง ประกวด Best Practice เป้าหมาย: ส่งเสริม และกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ในการทำ 5 ส. ก่อนการปรับปรุง: ขาดความคิดสร้างสรรค์ในการทำ 5 ส. การดำเนินการ: ประกวด Best Practice ผล: เกิดแบบอย่างที่ดีในการทำ 5 ส.

ส. เสนอแนะ ข้อเสนอแนะพัฒนาองค์กร (เสนอแนะ) เป้าหมาย: ร่วมเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ก่อนการปรับปรุง: ไม่ค่อยมีการร่วมเสนอแนะการพัฒนาองค์กร การดำเนินการ: เขียน Blog เชิงพัฒนาองค์กร 1 เรื่องต่อเดือน ผล: การนำข้อเสนอแนะมาปรับปรุง

สิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรม 5 ส. เกิดการพัฒนาการทำงานให้เป็นระบบ และเป็นต้นแบบที่ดีในการทำงาน เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ในองค์กรซึ่งเป็นรากฐานในการพัฒนาสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างวินัยและสร้างนิสัยในการทำ 5 ส. อย่างสม่ำเสมอ เกิดความสามัคคีในองค์กร ซึ่งส่งเสริมให้เกิดการทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ สร้างบรรยากาศและทัศนคติที่ดีในการทำงาน สร้างบุคลากรให้มีคุณภาพ สู่การพัฒนางานและองค์กรที่มีคุณภาพต่อไป

เคล็ดลับและข้อคิดในการดำเนินกิจกรรม 5 ส. ผู้บริหารกระตุ้นและให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง (หัวส่าย หางกระดิก) เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในทุกระดับ ในการปรับปรุงงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง สร้างกิจกรรมกระตุ้นจิตสำนึก และความคิดสร้างสรรค์ ในการทำกิจกรรม 5 ส. มีการสอดแทรกเรื่อง 5 ส. ในทุกกิจกรรมหลักขององค์กร และเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน การใช้ระบบสารสนเทศ (IT) มาช่วยในการดำเนินกิจกรรม 5 ส. มีรางวัลเล็กน้อยเพื่อเป็นขวัญกำลังใจในการทำ 5 ส.