สรุปรายงานการติดตามผลโครงการสะเต็มอบรมครูผ่าน ETV และ DLTV (ระยะที่ 1)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
5 วิธี ยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ได้ผล
Advertisements

Assignment กำหนดส่ง ศุกร์ 12 ก.พ. 2553
สื่อประกอบการเรียนรู้
แผนการดำเนินงานของทีมบริหาร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคม
จำนวนบุคลากร Post marketing
Thalassemia พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
What are the parts of a plant?. Vocabulary 1) Plant- พืช 7) Buds- ดอกตูม 2) Roots- ราก 8) Flower- ดอกไม้ 3) Stem- ลำต้นเล็ก 9) Fruit- ผลไม้ 4) Trunk-
Teaching & Learning Technology Development Center Technology Innovation for Education UNIVERSITY OF WISCONSIN – EAU CLAIRE By Srithon Meetam
เปิด เฉพาะ ม.ต้น ม.ปลาย เรียนฟรี ใช้หลักสูตร กศน. 51
setup cned school server east wadjum school phisanulok1.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
กรอบการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ ถูกต้องและต่อเนื่อง นำสาระท้องถิ่นมาบูรณาการกับ สาระแกนกลาง ปรับโครงสร้างเวลาเรียนตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ดำเนินก.
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
นโยบาย และนโยบายการศึกษา
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การจัดการข้อมูล (Organizing Data)
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรการสอน
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
กฎหมายการศึกษาไทย.
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
ประชุมชี้แจงการใช้สื่อ ชุดการจัดการเรียนรู้สื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สพป.น่านเขต 2 วันที่ 16.
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
แนวทางการบริหารงบประมาณของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จุดเน้น 6 ยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ (การศึกษาในระบบ)
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
การปฏิรูปการศึกษา การบริหารราชการ ในภูมิภาค.
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
กลไกการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะต่อสิ่งแปลกปลอม
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
โครงสร้างของพืชดอก (ลำต้น)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
โครงการ Dr.Chusak Prasert.
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฎิรูปการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่น
Homepage.
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
การอบรมครูด้วยระบบทางไกล โครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ภาพรวมโครงสร้าง นโยบายด้านพลังงาน
การขยายพันธุ์พืช.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครั้งที่ ๓/๒๕๖๑
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปรายงานการติดตามผลโครงการสะเต็มอบรมครูผ่าน ETV และ DLTV (ระยะที่ 1)

วัตถุประสงค์การประเมิน 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรมที่มีต่อการพัฒนาครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล 2. เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมอบรมที่ได้รับจากการพัฒนาด้วยระบบทางไกล 3. เพื่อประเมินพฤติกรรมและผลที่เกิดขึ้นหลังการเข้าร่วมการพัฒนาครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล 4. เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรค ของการพัฒนาครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล 5. เพื่อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการพัฒนาครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล ตลอดจนข้อเสนอแนะในการกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ 2

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ทราบความคิดเห็น ความพึงพอใจ การเรียนรู้ พฤติกรรม และผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนและโรงเรียนของผู้เข้าร่วมอบรมที่มีต่อการพัฒนาครูสะเต็มศึกษา ตลอดจนปัจจัยความสำเร็จ ปัญหา และข้อเสนอแนะ 2. ผลการประเมินจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล และสามารถพัฒนาโครงการในระยะต่อไป 3

กรอบการประเมิน 1 ความเหมาะสมของการบริหารจัดการ 2 ความเหมาะสมของวิทยากรในภาพรวม 2 ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม 3 ความรู้ที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมอบรม 4 การนำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมหลังการอบรม 5 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนและโรงเรียน 6 4

วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล กรอบการประเมิน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล 1. ความเหมาะสมของการบริหารจัดการ 1 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของการบริหารจัดการอยู่ระหว่าง 1.00-2.99 2 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของการบริหารจัดการอยู่ระหว่าง 3.00-3.99 3 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของการบริหารจัดการอยู่ระหว่าง 4.00-5.00   วิธีการ การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต เครื่องมือ แบบสอบถาม ประเด็นสัมภาษณ์ แบบสังเกต แหล่งข้อมูล ผู้เข้าอบรม บุคลากรประจำศูนย์อบรม สถานการณ์การอบรม 6

วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล กรอบการประเมิน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล 2. ความเหมาะสมของวิทยากรในภาพรวม 1 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของวิทยากรในภาพรวมอยู่ระหว่าง 1.00-2.99 2 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของวิทยากรในภาพรวมอยู่ระหว่าง 3.00-3.99 3 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของวิทยากรในภาพรวมอยู่ระหว่าง 4.00-5.00 วิธีการ การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต เครื่องมือ แบบสอบถาม ประเด็นสัมภาษณ์ แบบสังเกต แหล่งข้อมูล ผู้เข้าอบรม บุคลากรประจำศูนย์อบรม สถานการณ์การอบรม 6

วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล กรอบการประเมิน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล 3. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม 1 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ระหว่าง 1.00-2.99 2 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ระหว่าง 3.00-3.99 3 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ระหว่าง 4.00-5.00 วิธีการ การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต เครื่องมือ แบบสอบถาม ประเด็นสัมภาษณ์ แบบสังเกต แหล่งข้อมูล ผู้เข้าอบรม บุคลากรประจำศูนย์อบรม สถานการณ์การอบรม 6

วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล กรอบการประเมิน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล 4. ความรู้ที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมอบรม 1 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความรู้ที่เพิ่มขึ้นอยู่ระหว่าง 1.00-2.99 2 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความรู้ที่เพิ่มขึ้นอยู่ระหว่าง 3.00-3.99 3 คะแนน = ค่าเฉลี่ยความรู้ที่เพิ่มขึ้นอยู่ระหว่าง 4.00-5.00 วิธีการ การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต เครื่องมือ แบบสอบถาม ประเด็นสัมภาษณ์ แบบสังเกต แหล่งข้อมูล ผู้เข้าอบรม บุคลากรประจำศูนย์อบรม สถานการณ์การอบรม 6

วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล กรอบการประเมิน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล 5. การนำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมหลังการอบรม 1 คะแนน = ค่าเฉลี่ยการนำความรู้ไปใช้อยู่ระหว่าง 1.00-2.99 2 คะแนน = ค่าเฉลี่ยการนำความรู้ไปใช้อยู่ระหว่าง 3.00-3.99 3 คะแนน = ค่าเฉลี่ยการนำความรู้ไปใช้อยู่ระหว่าง 4.00-5.00 วิธีการ การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต เครื่องมือ แบบสอบถาม ประเด็นสัมภาษณ์ แบบสังเกต แหล่งข้อมูล ผู้เข้าอบรม บุคลากรประจำศูนย์อบรม สถานการณ์การอบรม 6

วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล กรอบการประเมิน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล 6. ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนและโรงเรียน 1 คะแนน = ค่าเฉลี่ยผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนและโรงเรียนอยู่ระหว่าง 1.00-2.99 2 คะแนน = ค่าเฉลี่ยผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนและโรงเรียนอยู่ระหว่าง 3.00-3.99 3 คะแนน = ค่าเฉลี่ยผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนและโรงเรียนอยู่ระหว่าง 4.00-5.00   วิธีการ การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต เครื่องมือ แบบสอบถาม ประเด็นสัมภาษณ์ แบบสังเกต แหล่งข้อมูล ผู้เข้าอบรม บุคลากรประจำศูนย์อบรม สถานการณ์การอบรม 6

ผลการติดตามผลโครงการอบรมสะเต็มผ่านดาวเทียม ระยะที่ 1 ด้านการบริหารจัดการศูนย์อบรม (อยู่ในระดับดี, 4.41) 1 2 ความเหมาะสมของวิทยากร (วิทยากรมีความรู้ ความสามารถ) ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม (มีความพึงพอใจมาก, 4.0) 3 ความรู้หลังการอบรม (มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ) 4 การนำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาหลังการอบรม 5 6 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนและโรงเรียน จะดำเนินการเก็บรวบรวม ข้อมูลในระยะที่ 2 11

ผลการประเมินการอบรมครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล 1. ด้านการบริหารจัดการศูนย์อบรม อันดับ การบริหารจัดการศูนย์อบรม ค่าเฉลี่ย ผลประเมิน 1 บุคลากรประจำศูนย์อบรมให้บริการด้วยความเต็มใจ 4.47 ดี 2 สถานที่อบรมมีความเหมาะสมสำหรับการอบรมครู 4.24 3 สถานที่อบรมสะดวกในการเดินทางของท่าน 4.22 4 ภาพรวมของวิทยากรมีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสะเต็มศึกษา 4.19 5 เอกสารประกอบการอบรมมีประโยชน์ในการนำไปใช้ 6 ห้องอบรมมีสื่ออุปกรณ์ที่สามารถใช้งานได้ดี 7 ภาพรวมของวิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่น่าสนใจ 4.07 8 หัวข้อการอบรมตรงกับความต้องการของท่าน 3.96 พอใช้ 9 ความพึงพอใจต่อการอบรมครูด้วยระบบทางไกลในภาพรวม 3.94 10 สัญญาณระบบทางไกลมีภาพและเสียงชัดเจน 3.70 6

ผลการประเมินการอบรมครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล 2. ความรู้จากการอบรม อันดับ ความรู้จากการอบรม ค่าเฉลี่ย ผลประเมิน 1 สะเต็มคืออะไร สำคัญอย่างไร ทำไมต้องทำสะเต็มศึกษา 4.08 ดี 2 การจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา 4.04 3 การวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 4.00 4 การนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน 3.98 พอใช้ 5 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 3.97 6 การทดสอบประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหา 7 การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 3.93 8 การระบุปัญหา 3.87 9 STEM Showcase 3.85 10 โครงงานสะเต็มศึกษา 3.84 6

ผลการประเมินการอบรมครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล 3. ความคิดเห็นต่อการอบรมด้วยระบบทางไกล อันดับ ความคิดเห็นต่อการอบรมด้วยระบบทางไกล ค่าเฉลี่ย ระดับ 1 การอบรมครูด้วยระบบทางไกลช่วยเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการพัฒนาตนเอง 4.07 ดี 2 หากมีการอบรมครูในหัวข้ออื่นด้วยระบบทางไกล ท่านยินดีที่จะเข้าร่วม 3.96 พอใช้ 3 การอบรมครูด้วยระบบทางไกลทำให้ครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสะเต็มศึกษาเช่นเดียวกันกับวิธีการอื่น(เช่น การศึกษาความรู้ด้วยตนเอง การเชิญวิทยากร ฯลฯ) 3.95 4 การอบรมครูด้วยระบบทางไกลทำให้ครูมีความเข้าใจสะเต็มศึกษาที่ตรงกัน 3.92 5 การโต้ตอบหรือตอบข้อสงสัยในการอบรมเป็นไปอย่างชัดเจน 3.74 6

ขอขอบคุณ

สังกัด กทม กศน สช อปท สพฐ รวม   ประถม ม.ต้น ม.ปลาย จำนวนครูเข้าอบรม 1,651 425 50 1,342 1,272 1,132 5,307 3,425 1,742 4,947 3,059 1,444 19,242 10,451 4,735 จำนวนเกียรติบัตร 1,641 424 1,244 1,256 1,120 5,239 3,389 1,599 4,903 3,038 1,391 18,857 10,117 4,638 จำนวนวุฒิบัตร 805 153 23 136 88 34 1,670 638 252 2,108 914 402 7,906 3,429 2,453 %วุฒิบัตร 49 36 46 11 8 4 33 20 16 43 31 32 41 53 จำนวนผู้เข้าสอบ 1,630 1,230 1,153 888 5,098 3,275 1,583 4,871 2,979 1,253 19,288 10,173 4,676 จำนวนครูทั้งหมด 2,126 3,746 10,474 9,450 34,428 60,224 รวมงบประมาณที่ใช้ 1,594,500 2,809,500 7,855,500 7,087,500 25,821,000 45,168,000 จำนวนครูที่ตกลงไว้ 2,835 3,732 11,000 14,310 34,630 66,507 สสวท.สนับสนุนเงิน 1,788,750 2,799,000 8,250,000 10,732,500 25,972,500 49,542,750 จำนวนเงินที่ส่งคืน 194,250 - 10,500 394,500 3,645,000 151,500 4,374,750