เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ การพัฒนาเครือข่ายศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน มุ่งสู่มาตรฐาน ศพค. เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ นางสาวปวีณา จันทร์เดช กองส่งเสริมสถาบันครอบครัว กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
มาตรฐานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน หมายถึง ข้อกำหนด หรือ เกณฑ์ ที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถบรรลุถึงภารกิจของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ซึ่งมีแนวทางการดำเนินงาน 5 ด้าน ดังนี้ การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง แก้ไขปัญหาครอบครัว การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและการดำเนินงานด้านครอบครัว การถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัว การประสานความร่วมมือระหว่าง ศพค. กับหน่วยงานอื่น
การรายงานผล การดำเนินงานตามมาตรฐาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ศพค. จัดกิจกรรม ด้านครอบครัว ศพค. จัดทำรายงานผล การดำเนินงาน เสนอ สค. สค. ตรวจประเมินรายงาน ตามหลักเกณฑ์ ศพค.มฐ การรายงานผล การดำเนินงานตามมาตรฐาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ศพค. ดีเด่น ศพค. ดี ประเมิน มฐ. สค. สนับสนุนงบประมาณ องค์ความรู้ และโอกาส ในการเข้าร่วมโครงการต่างๆ ของทั้งในและนอก กระทรวง
แบบ ศพค. มฐ. เป็นเครื่องมือในการประเมินประสิทธิภาพของสิ่งที่เกิดขึ้นจาก การดำเนินงานตามภารกิจ (ผลผลิต) ของ ศพค. ประกอบด้วย แบบข้อมูลทั่วไป แบบรายงานแยกตามด้านต่างๆ ของมาตรฐานแต่ละข้อ
แบบข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสำคัญ คือ จำนวนครอบครัวประเมิน (1) รายชื่อคณะทำงาน (6,7)
แบบรายงานมาตรฐานข้อที่ 1 การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง แก้ไขปัญหาครอบครัว แบบรายงานมาตรฐานข้อที่ 1 การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง แก้ไขปัญหาครอบครัว เพื่อเฝ้าระวัง แก้ไขปัญหา สำรวจข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูล ประสาน ลงพื้นที่เยี่ยมติดตามกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดที่ 1 สัดส่วนเครือข่ายต่อประชาชนในชุมชน สัดส่วนเครือข่ายต่อประชาชนในชุมชน = จำนวนครอบครัวเป้าหมายที่ได้รับการดูแล จำนวนครอบครัวเป้าหมายทั้งหมดในพื้นที่ X 100 ร้อยละ 70 ระดับการเฝ้าระวังขั้นสูง ร้อยละ 50 ระดับการเฝ้าระวังขั้นกลาง ร้อยละ 30 ระดับการเฝ้าระวังขั้นต้น
มีครอบครัวทั้งหมด 1,358 ครอบครัว ระบุรายชื่อคน/เครือข่าย องค์กร (อสม./อพม./ส.อบต./สภาเด็ก) ต้องมีภารกิจที่มอบหมาย รวมถึงผลการดำเนินการ ด้วย
กิจกรรมที่นำไปสู่การเสริมสร้าง ป้องกันและแก้ไขปัญหาครอบครัว แบบรายงานมาตรฐานข้อที่ 2 การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว กิจกรรมที่นำไปสู่การเสริมสร้าง ป้องกันและแก้ไขปัญหาครอบครัว “สร้างความตระหนัก ความรู้ความเข้าใจ จนก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนกิจกรรมตามขนาดของอปท. (อย่างน้อย 3 กิจกรรม/ปี) ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) ร้อยละการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน = จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่มาร่วมในแต่ละกิจกรรม (ครอบครัว/คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ในแต่ละกิจกรรม (ครอบครัว/คน X 100
เท่ากับร้อยละ 100 เ รายงานเฉพาะกิจกรรมที่เข้าข่าย มฐ. 2 ทั้งที่ใช้เงินสค./หน่วยงานอื่นๆ และไม่ใช้เงิน กิจกรรมที่เป็นงานประจำของอปท. เช่น วันพ่อ วันแม่ วันผู้สูงอายุ ต้องมีการสอดแทรกประเด็นด้านสตรี/ครอบครัว แสดงให้เห็นการมีตัวตนของ ศพค. วันที่รายงาน และวันที่จัดกิจกรรม ต้องสัมพันธ์กัน ใส่จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้และที่มาจริง
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านครอบครัว การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของ ศพค. แบบรายงานมาตรฐานข้อที่ 3 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและการดำเนินงานด้านครอบครัวของศพค. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านครอบครัว การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของ ศพค. ผ่าน ช่องทางต่างๆ เช่น เสียงตามสาย เอกสารใบปลิว สื่อบุคคล เป็นต้น ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของการเข้าถึงการประชาสัมพันธ์ของประชาชน (อย่างน้อย 1 ช่องทาง ที่มีร้อยละ 70) ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าใจการประชาสัมพันธ์ (ร้อยละ 70) = จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าถึง (แต่ละ)ช่องทางการประชาสัมพันธ์ (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ทำการสำรวจ (คน) X 100 = จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์การเข้าใจการประชาสัมพันธ์ (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ทำการสำรวจ (คน) X 100
ช่วงวัน/เวลาในการประชาสัมพันธ์ ต้องเสร็จสิ้นภาย ในปีงบประมาณนั้นๆ หากเป็นการดำเนินการตลอดปีให้ระบุให้ชัดเจน ระบุกิจกรรมที่ประชาสัมพันธ์อย่างชัดเจน
แบบรายงานมาตรฐานข้อที่ 4 การถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัว แบบรายงานมาตรฐานข้อที่ 4 การถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัว วิทยากรต้องเป็นคณะทำงานหรือหัวหน้าเครือข่าย ศพค. มี 3 ประเภท คือ ประเภท ก วิทยากรทั่วไป พิธีกร กล่าวชี้แจงการจัดงาน ประเภท ข วิทยากรกระบวนการ สันทนาการ วิทยากรกลุ่ม ประเภท ค วิทยากรด้านวิชาการ บรรยาย สาธิต เล่าประสบการณ์ ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีความเข้าใจในการถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัว (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) ตัวชี้วัดที่ 7 จำนวนวิทยากรของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนที่เป็นคณะทำงาน/หัวหน้าเครือข่าย ศพค. (อย่างน้อย 1 ประเภท) = จำนวนเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์ความเข้าใจในการถ่ายทอดข้อมูลด้านครอบครัว (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ทำการสำรวจ (คน) X 100
ต้องเป็นประธานหรือคณะทำงาน ศพค. เท่านั้นนะ วิทยากรในหน้านี้ ต้องเป็นประธานหรือคณะทำงาน ศพค. เท่านั้นนะ วิทยากรต้องเป็นคณะทำงาน หรือหัวหน้าเครือข่าย ศพค. วิทยากร 1 คน สามารถทำหน้าที่วิทยากรได้หลากหลายประเภท แต่จะนำมาใช้คำนวณ แค่ 1 ประเภท เนื้อหาที่ถ่ายทอดต้องเกี่ยวข้องการด้านครอบครัว ถ้าเป็นวิทยากรในการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร (สื่อสารทางเดียว)จะไม่ถูกนำมานับ ระบุวันเวลาในการถ่ายทอด กิจกรรม ให้ชัดเจน ร้อยละความเข้าใจ ให้ระบุเป็นร้อยละ ไม่ระบุเป็นจำนวนคน
แบบรายงานมาตรฐานข้อที่ 5 การประสานความร่วมมือระหว่าง ศพค แบบรายงานมาตรฐานข้อที่ 5 การประสานความร่วมมือระหว่าง ศพค. กับหน่วยงานอื่น ดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น รับการสนับสนุนทรัพยากร หรือการเข้าร่วมกับหน่วยงานอื่น เช่น เป็นวิทยากร หากลุ่มเป้าหมาย สำรวจข้อมูล เป็นต้น ประกอบด้วย 1 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดที่ 8 จำนวนกิจกรรมที่มีการประสานความร่วมมือ กับหน่วยงานอื่น (3 กิจกรรม/ปี)
อย่างน้อย 3 กิจกรรมนะจ๊ะ ต้องกรอกรายละเอียด อย่างน้อย 3 กิจกรรมนะจ๊ะ รายงานกิจกรรมทั้งที่ใช้งบประมาณและไม่ใช้งบประมาณ นำกิจกรรมที่รายงานในมฐ. 2 มารายงานเพิ่มเติมได้ ต้องเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านครอบครัว กิจกรรมต้องจัดภายในปีงบประมาณนั้นๆ ชื่อโครงการ/กิจกรรม/กระบวนงาน ควรมีการขยายความ เช่น เยี่ยมบ้าน............ สำรวจข้อมูลเรื่อง...................
แบบไหนจะได้เป็น ศพค. ดีเด่น/ดี ระดับดีเด่น กรณีที่ 1 ผ่านตัวชี้วัดครบ 8 ตัว 5 มาตรฐาน กรณีที่ 2 ผ่านตัวชี้วัด 7 ตัว 5 มาตรฐาน โดย มฐ. 2 ต้องผ่านทั้ง 2 ตัวชี้วัด กรณีที่ 3 ผ่านตัวชี้วัด 7 ตัว 4 มาตรฐาน โดย มฐ.2 ต้องผ่านทั้ง 2 ตัวชี้วัด ระดับดี กรณีที่ 1 ผ่านตัวชี้วัด7 ตัว 5 มาตรฐาน กรณีที่ 2 ผ่านตัวชี้วัด 7 ตัว 4 มาตรฐาน ต้องผ่าน มฐ. 2 อย่างน้อย 1 ตัวชี้วัด กรณีที่ 3 ผ่านตัวชี้วัด 6 ตัว โดย ต้องผ่าน มฐ. 2 อย่างน้อย 1 ตัวชี้วัด กรณีที่ 4 ผ่านตัวชี้วัด 5 ตัว โดย ต้องผ่าน มฐ. 2 อย่างน้อย 1 ตัวชี้วัด
เอกสารอะไรที่ต้องส่ง สค. แบบรายงาน ศพค. มฐ. กรอกรายละเอียดครบทั้ง 5 มาตรฐาน สค. 03 หากเป็นโครงการที่ได้รับงบประมาณ จาก สค. มีผลต่อการพิจารณาสนับสนุนงบประมาณในปีถัดไป รูปภาพการจัดกิจกรรม ส่งรูปภาพประกอบเอกสารมา ประมาณ 2-3 หน้า ที่สามารถแสดงเนื้อหาการจัดกิจกรรมได้ เช่น ภาพหมู่ ป้ายจัดงานที่ระบุวันที่/ชื่อโครงการ รูปอาหาร อาหารว่าง ห้องพัก แฟ้มเอกสาร ไม่ต้องส่ง สำเนาใบลงทะเบียน ใบสรุปค่าใช้จ่าย พร้อมลายเซ็นผู้จ่ายเงิน สิ่งที่ไม่ต้องส่งมาให้ สค. เอกสารตัวจริง โปรดเก็บไว้ที่จังหวัด เพราะ สตง. จะเข้าตรวจหลักฐาน ที่จังหวัด เอกสารสำคัญ เช่น บัตรประชาชน ทะเบียนบ้าน ใบเสร็จรับเงิน ไม่ต้องสำเนาประกอบเอกสารส่งมาที่ส่วนกลางนะคะ เอกสารประกอบการบรรยาย
ปิดรับการรายงาน วันที่ 30 กันยายน ของปีงบประมาณ การรายงานมาตรฐาน ศพค. หาก ศพค. ประสงค์เข้ารับการประเมินมาตรฐาน ศพค. ให้ส่งรายงาน ศพค. มฐ. ให้ สค. ได้ตั้งแต่เดือนมีนาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐ หากส่งรายงานครบทุกมาตรฐานในครั้งแรกแล้วไม่ต้องรายงานอีก หรือหากต้องการส่งรายงานเพิ่มเติม สามารถส่งได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด แต่ให้ระบุว่าส่งเพิ่มเติม ในมาตรฐานใดบ้าง ปิดรับการรายงาน วันที่ 30 กันยายน ของปีงบประมาณ สามารถส่งตรงได้ทางอีเมล์ E-mail : family_center08@hotmail.com กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว