5 แนวทางเชิงบูรณาการการป้องกันและแก้ไขปัญหาแรงงานไทยถูกหลอกลวงและลักลอบไปทำงานต่างประเทศ แรงงานไทยที่ไปทำงานต่างประเทศ รวมจำนวน 426,792 คน (มี.ค.61) 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของสารวัตรเกษตรอาสา โดย กรมวิชาการเกษตร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
1.
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
กลุ่มที่ 5: การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างเป็นระบบ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

5 แนวทางเชิงบูรณาการการป้องกันและแก้ไขปัญหาแรงงานไทยถูกหลอกลวงและลักลอบไปทำงานต่างประเทศ แรงงานไทยที่ไปทำงานต่างประเทศ รวมจำนวน 426,792 คน (มี.ค.61) 1 พ.ร.บ.จัดหางานฯ พ.ศ.2528 ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน แรงงานไทยทำงานต่างประเทศถูกกฎหมาย จำนวน 243,221 คน 2 กระบวนการขั้นตอนขออนุญาตไปทำงานต่างประเทศมีความยุ่งยาก สถานการณ์ แรงงานไทยทำงานต่างประเทศผิดกฎหมาย จำนวน 183,571 คน สภาพปัญหา 3 ขาดการประสานความร่วมมือ/การสร้างเครือข่าย/ระหว่างภาคส่วน ร้องทุกข์ถูกสายนายหน้าเถื่อนหลอกลวงย้อนหลัง 3 ปี (59 - 61) จำนวน 1,527 คน 4 แรงงานไทยขาดการตระหนักรู้ข้อดีในการไปทำงานอย่างถูกกฎหมาย ดำเนินคดีกับสายนายหน้าเถื่อน 580 คน แต่ความคืบหน้าของคดีในชั้นอัยการ ศาลมีน้อย 5 โควตาตำแหน่งงานที่ถูกต้องตามกฎหมายมีไม่เพียงพอกับความต้องการ กลไกขับเคลื่อน ระยะเร่งด่วน ระยะปานกลาง ระยะยาว ระดับนโยบาย รง. + บูรณาการร่วมกับ กต. กก. สตช. มท. ยธ. AOT ดส. ประเทศปลายทาง สร้างความร่วมมือ (MOU) กับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สร้างความร่วมมือ (MOU) กับประเทศ ปลายทาง ทบทวน ปรับปรุง พ.ร.บ.จัดหางานฯ พ.ศ.2528 กกจ. + บูรณาการทำงานกับ กรมการกงสุล ตม. สตช. สถ. ปค. ยธ. พม. จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนความร่วมมือ ขยายตลาดแรงงานในต่างประเทศ เพิ่มทางเลือกตามความต้องการของแรงงาน แรงงานไทยที่จะไปทำงานต่างประเทศต้องสมัครสมาชิกกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนงาน ระดับปฏิบัติ Blacklist ผู้จัดหางานเถื่อน เชื่อมโยงไปยังพื้นที่ สร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แรงงานไทย สร้างต้นแบบของการยกระดับรายได้ที่สูง ลดการไปทำงานต่างประเทศ พัฒนาระบบการอนุญาตไปทำงานต่างประเทศ พัฒนาระบบฐานข้อมูล เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน พัฒนางานวิจัย ขยายผล/ต่อยอด วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาเชิงพื้นที่  ระดมประชารัฐ Action plan  ดำเนินการ  รายงานผล ระดับพื้นที่ 5 เสือ + บูรณาการกับนอก รง./ชุมชน/เอกชน ร่วมมือกับหน่วยในพื้นที่ (โรงเรียนภาษา ศูนย์ฝึกอาชีพ/ทดสอบฝีมือแรงงานเอกชน ด่านตรวจคนหางาน อาสาแรงงาน) สร้างการรับรู้ สร้างเครือข่ายในชุมชนโดยกลไกประชารัฐ บูรณาการขับเคลื่อนนโยบายระดับพื้นที่อย่างเอกภาพ ประชาสัมพันธ์เชิงรุก+กำหนดกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ เผยแพร่ให้ความรู้ข้อกฎหมาย สร้างเครือข่ายกับ อปท./ผู้นำชุมชนสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แรงงงานในพื้นที่

รายชื่อผู้เข้าร่วมสัมมนาผู้บริหารระดับสูง กลุ่ม 1 การแก้ไขปัญหาแรงงานไทยลักลอบไปทำงานต่างประเทศ ลำดับที่ ชื่อ สกุล ตำแหน่ง 1. นายจรินทร์ จักกะพาก ปลัดกระทรวงแรงงาน 2. นายอนุรักษ์ ทศรัตน์ อธิบดีกรมการจัดหางาน 3. นายสมเกียรติ บุญทอง ผู้ตรวจราชการกระทรวงแรงงาน 4. นายอภิญญา สุจริตตานันท์ 5. นายสมภพ ปราบณรงค์ รักษาการที่ปรึกษากฎหมาย 6. นายกิตติพงษ์ เหล่านิพนธ์ รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 7. นายภูมา ธรรมกุล รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม 8. นางวีรยา รัตนนิตย์ ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กกจ.

ทำไมถึงยังมีการหลอกลวง รายได้สูงจูงใจ กลุ่มที่ 1 ปัญหาแรงงานไทยถูกหลอกลวงและลักลอบไปทำงานต่างประเทศอย่างผิดกฎหมาย ถูกหลอกลวงย้อนหลัง 3 ปี (59-61) จำนวน 1,527 ราย มูลค่าความเสียหาย 117 ลบ. รูปแบบการหลอกลวง เช่น โฆษณา บริษัททัวร์ (นักท่องเที่ยว) Line Facebook คนที่เคยเดินทางไปทำงาน เดินทางไปทำงานต่างประเทศย้อนหลัง 3 ปี (59-61) จำนวน 1.2 ล้านคน สถานการณ์ รู้/ไม่รู้ ทำไมถึงยังมีการหลอกลวง รายได้สูงจูงใจ ขาดความรู้เกี่ยวกับผลดีของการไปทำงานอย่างถูกกฎหมาย กระบวนการขั้นตอนของรัฐยุ่งยากล่าช้า โควต้าตำแหน่งงานมีน้อยกว่าความต้องการ ขาดการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ระยะเร่งด่วน บูรณาการความร่วมมือหน่วยงาน สร้างความร่วมมือ MOU กับประเทศปลายทาง ขยายตลาดแรงงาน แนวทางแก้ไข ระยะปานกลาง ระยะยาว สร้างเครือข่ายในชุมชนโดยกลไกประชารัฐ พัฒนาระบบฐานข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทบทวนกฎหมาย วิจัยเพื่อหาสาเหตุ/ ข้อมูล สร้างตนแบบของการยกระดับรายได้ที่สูงขึ้น ลดการไปทำงาน ตปท.

ปัญหาแรงงานไทยถูกหลอกลวงและลักลอบไปทำงานต่างประเทศอย่างผิดกฎหมาย การขับเคลื่อน ดำเนินโครงการต่างๆ เช่น โครงการการขยายตลาดแรงงานในต่างประเทศ โครงการส่งเสริมแรงงานไทย (ถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้) สร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แรงงานไทยด้วยวิชาการต่างๆ อาทิ สร้างช่องทางการเข้าถึงที่หลากหลาย บูรณาการในการทำงานระหว่างหน่วยงาน จัดทำฐานข้อมูลทุกประเภท พัฒนาบุคลากร มอบหมายติดตามภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด

Roadmap การแก้ไขปัญหาแรงงานไทยลักลอบไปทำงานต่างประเทศ ปัญหา/อุปสรรค ปัญหาแรงงานไทยถูกหลอกลวงและลักลอบไปทำงานต่างประเทศอย่างผิดกฎหมาย ข้อเสนอแนะ ระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติ สถานการณ์ สร้างความร่วมมือ (MOU) กับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับ การป้องกันป้องปราม ปราบปราม และสร้างการรับรู้ จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนความร่วมมือ ณ มี.ค. 61 มีแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศในเขตอาณาของสำนักงานแรงงานไทยในต่างประเทศ 13 แห่ง จำนวน 426,792 คน (ถูกกฎหมาย 243,221 คน , ผิดกฎหมาย 183,571 คน) ระยะเร่งด่วน ทบทวน ปรับปรุง พ.ร.บ จัดหางานฯ สร้างระบบฐานข้อมูลบัญชีดำ (Blacklist) ผู้จัดหางานเถื่อน ระดับปฏิบัติ มีรายได้ส่งกลับปี 2561 เฉลี่ยเดือนละ 12,544.67 ล้านบาท พัฒนาระบบการพิจารณาอนุญาตการเดินทางไปต่างประเทศให้สะดวกรวดเร็ว ในช่วงปี 2558 - 2561 (มี.ค.61) มีแรงงานไทยร้องเรียนถูกสายนายหน้าเถื่อนหลอกลวงไปทำงานต่างประเทศ 2,530 คน โดยปี 2558 – 2560 ดำได้ดำเนินคดีกับสายนายหน้าเถื่อนจำนวน 580 คน จำนวน 611 คดี ผู้เสียหาย 1,169 คน มูลค่าความเสียหาย 92,130,754 บาท ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการไปทำงานต่างประเทศอย่างถูกกฎหมายให้ทั่วถึงและขยายตลาดแรงงานในต่างประเทศ ระยะต่อไป แรงงานไทยที่จะไปทำงานต่างประเทศทุกคนสมัครเป็นสมาชิกกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทำงานในต่างประเทศ นำผลวิจัยหรือผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องมาขยายผลและต่อยอด Roadmap การแก้ไขปัญหาแรงงานไทยลักลอบไปทำงานต่างประเทศ ปัญหา/อุปสรรค ระยะเร่งด่วน (ต.ค. –ธ.ค.61) ระยะกลาง (ม.ค. - มี.ค.62) ระยะยาว (เม.ย. – ก.ย. 62) บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเร่งรัดและดำเนินคดีและปราบปรามขบวนการสายนายหน้าเถื่อนที่หลอกลวงแรงงานไทยไป ตปท. ส่งเสริมความร่วมมือ (MOU) กับประเทศปลายทางแจ้งเบาะแสการลักลอบไปทำงานของแรงงานไทยอย่างผิดกฎหมาย ขยายตลาดแรงงานใหม่และเพิ่มตำแหน่งงานเพื่อเพิ่มโอกาสในการทำงานในต่างประเทศให้แก่แรงงานไทยมากขึ้น สร้างการรับรู้หลากหลายช่องทาง (Facebook Line กำนันผู้ใหญ่บ้าน) ให้แรงงานไทยมีความเข้าใจที่ถูกต้องในการไปทำงานต่างประเทศอย่างถูกต้องตามกฎหมาย พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ลักลอบไปทำงานต่างประเทศโดยบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.จัดหางานฯ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน (กฎหมายเดิมไม่ครอบคลุมรูปแบบการหางานใหม่ๆ) พัฒนางานวิจัยแรงานไทยที่ลักลอบและถูกหลอกลวงไปทำงานต่างประเทศ พ.ร.บ. จัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน กระบวนการขออนุญาตไปทำงานต่างประเทศอย่างถูกต้องตามกฎหมายมีความยุ่งยาก ขาดการประสานความร่วมมือในการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและสร้างการรับรู้ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แรงงานไทยขาดความรู้และมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง

ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ สถานการณ์ ปัญหาแรงงานไทยถูกหลอกลวงและลักลอบไปทำงานต่างประเทศอย่างผิดกฎหมาย พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528 ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ สถานการณ์ ระยะเร่งด่วน ระดับนโยบาย พ.ร.บ. จัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน สร้างความร่วมมือ (MOU) กับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการป้องกัน ป้องปราม ปราบปราม และสร้างการรับรู้ ปัจจุบัน (ณ มีนาคม 2561) มีแรงงานไทยที่ไปทำงานต่างประเทศในเขตอาณาของสำนักงานแรงงานไทยใน ต่างประเทศ 13 แห่ง จำนวน 426,792 คน (ถูกกฎหมาย 243,221 คน , ผิดกฎหมาย 183,571 คน) กระบวนการขออนุญาตไปทำงานต่างประเทศอย่างถูกต้องตามกฎหมายมีความยุ่งยาก ระดับปฏิบัติ จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนความร่วมมือ ทบทวน ปรับปรุง พ.ร.บ จัดหางานฯ ขาดการประสานความร่วมมือในการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและสร้างการรับรู้ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างระบบฐานข้อมูลบัญชีดำ (Blacklist) ผู้จัดหางานเถื่อน แรงงานไทยมีรายได้ส่งกลับปี 2561 เฉลี่ยเดือนละ 12,544.67 ล้านบาท ระยะต่อไป ระดับปฏิบัติ แรงงานไทยขาดความรู้และมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง พัฒนาระบบการพิจารณาอนุญาต การเดินทางไปต่างประเทศ ในช่วงปี 2558-2561 (มีนาคม 2561) มีแรงงานไทยร้องเรียนถูกสายนายหน้าเถื่อนหลอกลวงไปทำงานต่างประเทศ 2,530 คน โดยปี 2558 – 2560 ได้มีการดำเนินคดีกับสายนายหน้าเถื่อนจำนวน 580 คน จำนวน 611 คดี ผู้เสียหาย 1,169 คน มูลค่าความเสียหาย 92,130,754 บาท ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการไปทำงานต่างประเทศอย่างถูกกฎหมายให้ทั่วถึง และขยายตลาดแรงงานในต่างประเทศ ให้แรงงานไทยที่จะไปทำงานต่างประเทศทุกคนสมัครเป็นสมาชิกกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทำงานในต่างประเทศ นำผลวิจัยหรือผลการศึกษาที่เกี่ยวกับการขยายผลและต่อยอด