สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
Advertisements

Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
งานฝึกอบรมและพัฒนาสื่อสารสนเทศ
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
ระบบการเบิก & การล้างหนี้เงินยืมทดรอง ค่าใช้จ่ายเดินทาง บน New-EDMS
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา
Health Promotion & Environmental Health
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ปรัชญา วิสัยทัศน์ ปณิธาน พันธกิจ
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
วิชา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
แนวทางและแผนการดำเนินงานฯ
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
DMA-Monitor ระบบติดตามผลและแจ้งเตือนความผิดปกติ
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับหน่วยงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

Environment ถนนชีวิตเพื่อสุขภาพ Equity (life Course approach) Timing ความไม่เท่าเทียม เกิดทุกช่วงวัยแต่แตกต่างกัน Equity สิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย ทั้งกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ แต่ละวัยสัมผัสเอื้อและไม่เอื้อ ต่อการมีสุขภาพดี Environment ในแต่ละช่วงวัย มีวิกฤติ และโอกาสของชีวิต ไม่เหมือนกัน Timing Time Line ทุนสะสมทั้งดีและเสีย จะส่งผลต่อช่วงอายุต่อๆไปเรื่อยๆ

แนวทางการพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เน้นให้ประชาชนพึ่งตนเอง เข้าใจชุมชน และจัดการปัญหาได้ด้วยตัวเอง โดยอาศัยภาครัฐคอยเป็นผู้ช่วยสนับสนุน อยู่เบื้องหลัง

การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน จากแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อคนทุกกลุ่มวัย จึงผลักดันให้เกิด “ ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน” เป้าหมายหลัก คือ ชุมชนสามารถค้นหาความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ชุมชนตนเองได้ และต้องสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการช่วยกันจัดการปัญหาดังกล่าวได้อย่างยั่งยืน

อะไรคือ อนามัยสิ่งแวดล้อม อนามัย หมายถึง ตามความหมายขององค์การอนามัยโลกได้ให้คำจำกัดความของคำว่าอนามัย คือ สภาวะที่มีสุขภาพสมบูรณ์ดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ และสามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมได้ด้วยดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและความทุพพลภาพ สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่าง ๆที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นโดยลักษณะทางกายภาพที่มองเห็นได้ จับต้องได้ หรือสัมผัสด้วยประสาทสัมผัสอื่น ๆ ได้ เช่น มนุษย์ พืช สัตว์ ดิน น้ำ อากาศ สิ่งของต่าง ๆหรือเป็นนามธรรม ซึ่งไม่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสด้วยประสาทสัมผัสอื่น ๆ ได้ เช่น ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อต่าง ๆ

อะไรคือ อนามัยสิ่งแวดล้อม อนามัยสิ่งแวดล้อม ตามความหมายขององค์การอนามัยโลก (WHO, 1997) หมายถึง องค์ประกอบด้านต่างๆ และ คุณภาพชีวิตของมนุษย์ที่ถูกกำหนดโดยปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ สังคมและสังคม จิตวิทยา รวมถึงหลักการและวิธีปฏิบัติในการประเมิน แก้ไข ควบคุม ป้องกันปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผล กระทบด้านลบต่อสุขภาพทั้งของคนรุ่นปัจจุบันและรุ่นลูกหลานในอนาคต

ชุมชนมีความเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active community) การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน หมายถึง การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ในประเด็นงานที่เชื่อมโยงจากงานสาธารณสุขมูลฐานโดยมีการประยุกต์นำค่ากลางหรือแนวทางความสำเร็จมาใช้ในการพัฒนา โดยการพัฒนาขึ้นกับบริบทหรือสภาพปัญหาสำคัญหลักของพื้นที่ ประกอบด้วย (1) การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน (2) การจัดการส้วมและสิ่งปฏิกูล (3) การจัดบ้านให้สะอาด (4) สุขาภิบาลอาหารและการควบคุมคุณภาพน้ำบริโภค (5) การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่พิเศษ หรือพื้นที่เสี่ยง

หลักการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

ชุดข้อมูลเรื่องการจัดการชุมชน ที่ใช้เป็นพื้นฐานการทำงาน โครงการ ชุมชนที่ผ่านเกณฑ์พัฒนาตามโครงการ หน่วยงาน จำนวน ทั้งหมด จำนวนผ่าน (แห่ง) ร้อยละ 1. 100 ตำบลบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม 100 117 117% กรมอนามัย 2. หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ระดับดี ขึ้นไป 79,322 67,019 84.5% กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน 3. ตำบลจัดการสุขภาพ ระดับดีขึ้นไป 7,255 6,584 90.8% 4. ประเทศไทยไร้ขยะฯ (1 จังหวัด 1 อปท. ต้นแบบ จัดการขยะ) 77 100% กระทรวงมหาดไทยและ คพ. หมายเหตุ: 1. ข้อมูลตำบลบูรณากรฯ จาก สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย (ข้อมูล ณ ปี 2559) 2. ข้อมูลตำบลและหมู่บ้านจัดการสุขภาพจาก ระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน (ข้อมูล ณ ปี 2559) http://www.thaiphc.net/thaiphcweb/index.php?r=site/main

Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม 5 DHS งานสาธารณสุข มูลฐาน สสอ. + รพ.สต. 3 ร่วมดำเนินการ กรอบแนวคิดการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อม ชุมชน อสธจ. ชี้แจง/สนับสนุน อปท. สสจ. ค่ากลาง ด้าน อวล. ชี้แจง/ สนับสนุน วิชาการ ตำบล/หมู่บ้านจัดการสุขภาพ/DHS 4 สนับสนุนการจัดทำค่ากลาง อวล. EHA ศูนย์อนามัย ตำบลบูรณาการ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม สบส. เขต M&E สนับสนุน แนวทาง เกณฑ์ ชุดความรู้ สนับสนุน สบส. 1 ผลักดันหลักสูตร อสม. สำนัก/กอง กรมอนามัย คณะกรรมการการสาธารณสุข ผลักดัน MOU ผ่าน สถ. ขับเคลื่อน กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทยไร้ขยะฯ 76 อปท.) พัฒนา Guideline ชุดข้อมูล และชุดความรู้ Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม 2

ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย “สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน” เป้าประสงค์: ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active community) ตัวชี้วัด ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน กลยุทธ์ เสริมสร้างการมีส่วนร่วมประชาชนและภาคีเครือข่ายในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

เป้าหมายของตัวชี้วัด Active community ระยะ 5 ปี ร้อยละ 100 ชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน (Active community) (จากปี 60 - 62) มีนวัตกรรมชุมชนด้าน อวล.ทั้งหมด ร้อยละ 50 ของชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ในชุมชน (Active community) (จากปี 60 - 62) มีนวัตกรรมชุมชนด้าน อวล. 7,255 ตำบล มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน (อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน (100% ของตำบล) 3,500 ตำบล มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน (อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน 1,000 ตำบล มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน (อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

นิยาม: ชุมชนมีความเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active community) ตัวชี้วัด: ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 1. มีแกนนำชุมชน และ/หรือ อสม. ที่มีความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 1 คน 2. มีข้อมูลที่สามารถระบุ/บ่งชี้ความเสี่ยงด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมในชุมชน 3. จัดทำแผนชุมชน/โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการที่มีส่วนร่วมของ ประชาชน และภาคีเครือข่าย ที่ตอบสนองต่อความเสี่ยงด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมของชุมชน

องค์ประกอบของงานสาธารณสุขมูลฐาน การสาธารณสุขมูลฐาน กรรมการ 3 ส สร้างความร่วมมือ สื่อสาร สู่ความยั่งยืน ข ข้อมูล ข่าวสาร 3 ก กำลัง คน กองทุน การขับเคลื่อนงานชุมชนเข้มแข็ง ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน โดยใช้หลักการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพของ สบส. องค์ประกอบของงานสาธารณสุขมูลฐาน จำนวน 14 องค์ประกอบ

การจัดการสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงด้วยหลักการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ใช้แนวทางการเตรียมความพร้อมของชุมชนด้วยหลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เข้าถึง พัฒนา เข้าใจ ด้วยระบบงานของ ทีมสุขภาพประจำครอบครัว ระบบสาธารณสุข สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ด้วยระบบ 3 ข้อมูล ค่ากลางของโครงการกลุ่มเป้าหมายระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ บูรณาการงานในโครงการสำหรับกลุ่มเป้าหมาย กำหนดตัวชี้วัด จัดสรรความรับผิดชอบด้านทรัพยากรระหว่างภาครัฐกับประชาชน มอบอำนาจความรับผิดชอบการส่งเสริมสุขภาพให้ภาคประชาชน สร้างนวัตกรรมสังคม จำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายย่อย เช่น พื้นที่เสี่ยง ปฎิรูปโครงการสุขภาพจากแบบรายประเด็นเป็นรายกิจกรรม กำหนดงานสำหรับแต่ละกิจกรรมจากมาตรฐานวิชาชีพหรือค่ากลางของชุมชน ข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลสภาวะแวดล้อมทางกายภาย/เศรษฐกิจ/สังคมของกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลการบริหารจัดการ แผนงาน/โครงการสำหรับกลุ่มและพื้นที่เป้าหมาย

3 ขั้นตอนของการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการ อนามัยส่งแวดล้อม พัฒนาความพร้อมชุมชน ด้วยกระบวนการพัฒนาสาธารณสุข มูลฐาน (3ก 1ข 3ส) (7 ข้อ) ขั้นที่ 1: ชุมชน มีความพร้อม พัฒนาความพร้อมชุมชน (7 ข้อ) พัฒนาชุมขนมีศักยภาพ (3 ข้อ) ขั้นที่ 2: ชุมชน มีศักยภาพ พัฒนาชุมชนเข้มแข็งยั่งยืน (1 ข้อ) ขั้นที่ 3: ชุมชน มีความเข้มแข็งยั่งยืน รวม 11 ข้อ รวม 10 ข้อ รวม 7 ข้อ เข้าถึง: รู้ปัญหาและ รู้เท่าทัน จัดการได้ เข้าใจ: บริบทพื้นฐาน พัฒนา: มุ่งเป้าสู่นวัตกรรมชุมชน ระดับ Preparation ระดับ Active community ระดับ Sustainable community

หลักเกณฑ์การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม Step 1: ขั้นตอนการพัฒนาความพร้อมชุมชน (7 ข้อ) 1. มีคณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับตำบลและกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน 2. มีแกนนำชุมชน หรือ อสม. อย่างน้อย 1 คน/หมู่บ้าน ที่สนับสนุนงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. มีกองทุนระดับตำบล ที่สนับสนุนการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ของคนในชุมชน หรือได้รับการสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายภายในหรือภายนอกพื้นที่ 4. มีการประยุกต์ใช้ค่ากลางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับเขต/จังหวัด หรือแนวทางความสำเร็จในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมจากพื้นที่ใด ๆ เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดแนวทางการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนได้   5. มีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของชุมชนอย่างเป็นระบบ 6. มีเวทีประชาคม/การประชุม ระดับตำบลหรือหมู่บ้าน เพื่อการชี้แจงและติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 7. มีช่องทางให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย เหมาะสม

หลักเกณฑ์การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม Step 2: - ผ่าน Step 1 การพัฒนาความพร้อมของชุมชน (กิจกรรม 7 ข้อ) - เพิ่มเติมขั้นตอน ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active community) ( 3 ข้อ) ได้แก่ 1. แกนนำชุมชน/ อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และ ร่วมสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และจัดลำดับปัญหา/ความเสี่ยงของชุมชนด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม 3. ประชาชนร่วมคิด ร่วมจัดทำแผนงาน และดำเนินกิจกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับ ความเสี่ยงในพื้นที่ หรือค่ากลางระดับเขต/จังหวัด

หลักเกณฑ์การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม Step 3: - ผ่าน Step 1การพัฒนาความพร้อมของชุมชน (7 ข้อ) - ผ่าน Step 2 ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active community) ( 3 ข้อ) - เพิ่มเติมขั้นตอน ชุมชนมีความเข้มแข็งยั่งยืน (1 ข้อ) ได้แก่ มีนวัตกรรมชุมชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่ช่วยลดหรือจัดการปัญหาความเสี่ยงด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน ที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ เช่น ระบบเฝ้าระวังอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชน เป็นต้น

การวัดผลการพัฒนาชุมชนให้มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ระดับความพร้อมของชุมชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ต้องทำการประเมินชุมชน โดยคัดกรองระดับความก้าวหน้าในการพัฒนา ดังนี้ ระดับ 1 คือ ดำเนินกิจกรรมในขั้นตอนเตรียมความพร้อม ได้เพียง 1 กิจกรรม ระดับ 2 คือ ดำเนินกิจกรรมในขั้นตอนเตรียมความพร้อม ได้เพียง 2-3 กิจกรรม ระดับ 3 คือ ดำเนินกิจกรรมในขั้นตอนเตรียมความพร้อม ได้เพียง 4-6 กิจกรรม ระดับ 4 คือ ดำเนินกิจกรรมในขั้นตอนเตรียมความพร้อม ได้ครบทุกกิจกรรม ระดับการวิเคราะห์ความเข้มแข็งชุมชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเมินความมีศักยภาพชุมชน เมื่อชุมชนพัฒนาอยู่ในระดับที่ 4 ได้สำเร็จ ดังนี้ 1. ชุมชนมีความพร้อม คือ ชุมชนที่มีการพัฒนาในระดับการเตรียมความพร้อม อยู่ในระดับ 4 2. ชุมชนมีศักยภาพ (Active community) คือ ชุมชนที่มีความพร้อมอยู่ ในระดับที่ 4 และดำเนินการในระดับการพัฒนาศักยภาพ ได้ครบทุกกิจกรรม 3. ชุมชนมีความเข้มแข็งยั่งยืน คือ ชุมชนที่มีความพร้อมอยู่ ในระดับที่ 4 และดำเนินการในระดับการพัฒนาศักยภาพ และระดับการพัฒนาความเข้มแข็ง อย่างยั่งยืนได้ครบทุกกิจกรรม

บทบาทหน่วยงานในการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สาธารณสุขจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ อปท./รพสต. แกนนำ/อสม. 1. คัดเลือกชุมชน ในตำบลเป้าหมาย ที่ต้องการพัฒนา 2. ประชุมชี้แจง และขับเคลื่อนงานโดยอาศัยช่องทางผ่านคณะกรรมการและเครือข่ายในพื้นที่ เช่น ตำบล และหมู่บ้านจัดการสุขภาพ และระบบ DHS (สบส.) 3. ประสาน สบส. เขต และ สสอ. เพื่อร่วมกันพัฒนาศักยภาพแกนนำ/อสม.ด้าน อวล.ในชุมชน (อาศัยงบประมาณอบรม อสม.จาก งบ สบส.ประจำปี) (สามารถเลือกใช้หลักสูตรอวล. กรมอนามัย) 4. ประเมินรับรอง และติดตามผลตามแบบเกณฑ์ 1. สนับสนุนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายในชุมชน เช่น อปท., อสม., แกนนำชุมชน 2. จัดทำระบบฐานข้อมูลในชุมชน เช่น ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่, ข้อมูลโรคจากสิ่งแวดล้อม 3. ร่วมขับเคลื่อนงานชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่ ผลักดันให้เกิดการมีส่วนร่วม นวัตกรรมชุมชน 4. สนับสนุนการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ เช่น งบประมาณ ชุดความรู้ เป็นต้น 5. ควบคุม กำกับ ติดตาม การดำเนินงาน ตามแผนงานโครงการ กิจกรรมในพื้นที่ 6. ให้ความรู้แก่แกนนำชุมชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมตามปัญหาในพื้นที่ 1. ให้ความรู้แก่ประชาชนและแกนนำชุมชนในพื้นที่ 2. ร่วมทำแผนที่ชุมชนกับประชากรในพื้นที่ 3. สนับสนุนชุดความรู้แก่ชุมชน 4. สนับสนุนการขับเคลื่อนงานภายในพื้นที่ร่วมกับเครือข่ายภายในและภายนอกชุมชน 5. จัดทำฐานข้อมูลโรคจากสิ่งแวดล้อม ปัญหาสุขภาพ ความเสี่ยงของชุมชน 6. สรุปรายงานผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ กิจกรรมในชุมชน 7. เฝ้าระวังปัญหาความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในชุมชน 1.สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ให้ความรู้ ในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย ได้แก่ อปท. , รพ.สต., สสจ., สสอ. 2. ร่วมวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อหาความเสี่ยง อวล.ชุมชน 3. พัฒนาแผนที่ชุมชนเพื่อใช้ในการประเมินความเสี่ยงชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุภาคส่วน 4.ผลักดันให้เกิดแผนงานโครงการและกิจกรรม เพื่อจัดการความเสี่ยงตามบริบท ชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Community)

ประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน น้ำเสีย ขยะ กลิ่นเหม็น ความเสี่ยง หรือโอกาส สภาวะเปลี่ยนแปลง สภาวะปกติ สัตว์พาหะและแมลงนำโรค มลพิษอากาศ เสียงดัง

ประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน การเปลี่ยนแปลงนั้น ทำให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศ เช่น น้ำเน่าเสีย สิ่งมีชีวิตตาย การปนเปื้อนสารเคมีในอากาศ เป็นต้น สภาวะเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงนั้น ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน เช่น เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ อุจจารร่วง มีผื่นที่ผิวหนัง มีปัญหาสารเคมีปนเปื้อนในกระแสเลือด เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงนั้น ทำให้เกิดผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคมในชุมชน เช่น ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย มีผลต่อความเป็นอยู่โดยปกติ เป็นต้น

ขั้นตอนประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน จัดตั้งทีมงาน จัดทำแผนที่เดินดินหรือแผนที่ชุมชน สำรวจข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สภาวะเปลี่ยนแปลง จัดลำดับ อย่างมีส่วนร่วม เช่นการยกมือออกความเห็น การเขียนให้คะแนน การติดสัญลักษณ์ให้คะแนน วิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดลำดับ การสื่อสารข้อมูล วางแผนแก้ปัญหาอย่างมีส่วนร่วม

ขั้นตอนประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน

การประกวดนวัตกรรมชุมชน กรมอนามัย ส่งเสริมการสร้างคุณค่างาน พัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน โดยจัดให้มีการประกวดนวัตกรรมชุมชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ระดับประเทศ 3 ด้านคือ 1. นวัตกรรมชุมชน ประเภทผลิตภัณฑ์ 2. นวัตกรรมชุมชน ประเภทการพัฒนากระบวนการ 3. นวัตกรรมชุมชน ประเภทการพัฒนาต้นแบบ 4. นวัตกรรมชุมชน ประเภทการบริหารจัดการ

การขับเคลื่อนงานชุมชนเข้มแข็ง โดยใช้ค่ากลางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนงาน ตำบลบูรณาการฯ กรมอนามัย ค่ากลาง คือ งาน หรือกิจกรรมสำคัญที่หลายๆ พื้นที่ปฏิบัติแล้วเกิดผลสำเร็จ ค่ากลาง/รูปแบบการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม คือ มาตรการสำคัญที่พื้นที่ใช้ในการพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมแล้วประสบผลสำเร็จในพื้นที่ พัฒนาค่ากลางระดับเขต ในตำบลบูรณาการฯ รูปแบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ค่ากลางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาชุมชนเข้มแข็งฯ ทางเลือก สนับสนุน

รูปแบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม การจัดการบ้านหรือที่อยู่อาศัยสะอาด เพื่อป้องกันโรค การจัดการขยะชุมชน การจัดการสุขาภิบาลอาหาร การควบคุมคุณภาพน้ำบริโภค การจัดการส้วมและสิ่งปฏิกูล เพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ

แนวทางความสำเร็จ “บ้าน และชุมชนสะอาด”

แนวทางความสำเร็จ “การจัดการขยะชุมชน”

แนวทางความสำเร็จ “การจัดการส้วม สิ่งปฏิกูล”

แนวทางความสำเร็จ “การจัดการส้วม สิ่งปฏิกูล”

แนวทางความสำเร็จ “การสุขาภิบาลอาหาร”

แนวทางความสำเร็จ “การสุขาภิบาลอาหาร”

แนวทางความสำเร็จ “การควบคุมคุณภาพน้ำ”

แนวทางความสำเร็จ “การควบคุมคุณภาพน้ำ”

เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนงานชุมชนเข้มแข็งในการ จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน เข้าไปที่ Drive

กลไกการติดตาม ประเมินผลการพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนางานชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม) จึงกำหนดให้มีการใช้แบบประเมินทั้งแบบออนไลน์ และแบบเอกสาร สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในการประเมินชุมชนในพื้นที่ โดยกำหนดการประเมิน ผ่านระบบออนไลน์ดังกล่าวหรือส่ง แบบรายงานมายัง สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ในรอบ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน ซึ่งกรมอนามัย จะมี link สำหรับการประเมินผลตามแต่ละไตรมาสดังกล่าว (link ต่างกัน) ส่งผ่านช่องทาง ศูนย์อนามัย เพื่อประสานความร่วม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทำการประเมินผลความก้าวหน้า ตามกำหนดต่อไป Link ไตรมาสแรก https://goo.gl/forms/9AKCppn2tSrzSXJN2

QR code แบบประเมินการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Community) ประจำไตรมาส เข้าไปที่ Drive

QR code เอกสารแนวทางขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Community) เข้าไปที่ Drive

QR code คู่มือ แนวทางความสำเร็จของพื้นที่ ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน เข้าไปที่ Drive

Thank you