สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ห้องประชุม ๑ ศาลากลางจังหวัดสระบุรี
4 4 2
นโยบาย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙ นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร การสัมมนานโยบายและแนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙ ระหว่างวันที่ ๒๑ – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๘ ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น
นโยบายกรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙ ก้าวเข้าสู่ปีที่ ๓ ของนโยบาย MRCF - ขับเคลื่อนระบบ MRCF อย่างต่อเนื่อง - ให้เป็นระบบงานพื้นฐาน - เป็นระบบที่ทุกหน่วยงานเข้ามาร่วมปฏิบัติงานได้ เนื้อหาของนโยบายปี ๒๕๕๙ ประกอบด้วย 2 ส่วน - นโยบายในการปฏิบัติงาน - งานสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
ก.นโยบายในการปฎิบัติงาน ๑. สนับสนุนโครงการพระราชดำริ และขยายผลสู่เกษตรกร ให้มากขึ้น ๒. ให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา และมุ่งผลสัมฤทธิ์ ที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรเป็นหลัก ๓. ยึดพื้นที่เป็นเป้าหมายในการปฏิบัติงาน กำหนดพื้นที่ ดำเนินการที่ชัดเจน มองภาพ “พื้นที่-คน-สินค้า” เข้าด้วยกัน
นโยบายในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ๔. ขับเคลื่อนนโยบายการลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มโอกาส ในการแข่งขัน ดำเนินการใน ๔ ด้าน : การลดต้นทุน การเพิ่มผลผลิตต่อหน่วย การบริหารจัดการ และการตลาด ลดต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตรสำคัญ ลดต้นทุนโดยการทำการเกษตรแบบผสมผสาน โดยเฉพาะเกษตรทฤษฎีใหม่
นโยบายในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ๕. ขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยใช้ระบบงาน กลไก และเครือข่าย มุ่งเน้นให้เกษตรกรพัฒนาเกษตรกรด้วยกันเอง ใช้ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร เป็นศูนย์กลางทางวิชาการและองค์ความรู้ และเป็นแหล่งเรียนรู้ ในพื้นที่ ใช้ ศบกต. เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการและเชื่อมโยง กลไกงานส่งเสริมฯ โดยเฉพาะ ศจช. และ ศดปช. เร่งรัดการดำเนินงานตามหลัก Zoning และการใช้ระบบ MRCF ในทุกพื้นที่
นโยบายในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ๖. เสริมสร้างขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน พัฒนานักส่งเสริมการเกษตรมืออาชีพ เป็น Smart Officer และผู้นำการเปลี่ยนแปลง สำนักงานเกษตรอำเภอเป็นแกนหลักในการปฏิบัติงาน ให้บริการแบบ Smart Office ศูนย์ปฏิบัติการเชื่อมโยงกับจังหวัด และอำเภอ Smart Officer
นโยบายในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ๗. มุ่งเน้นการทำงานให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายของงาน ส่งเสริมการเกษตร ๕ Smarts Smart Officer Smart Office Smart Farmer Smart Group Smart Product
ข.งานสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ๑. ส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ ดำเนินการต่อเนื่องจากปี ๒๕๕๘ บูรณาการโครงการและกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่แปลงใหญ่
งานสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ (ต่อ) ๒. พัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร พัฒนาศูนย์เรียนรู้ฯ ทั้ง 882 ศูนย์ - มีความพร้อมในการให้บริการ - เป็นแหล่งเรียนรู้และเป็นที่พึ่งของเกษตรกร - จัดระบบให้เกษตรกรเข้ามาเรียนรู้ สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ศูนย์ฯ เป็นที่รู้จัก ยอมรับ และ ใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการจัดงานวันถ่ายทอด เทคโนโลยี (Field Day)
งานสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ (ต่อ) ๓. ปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เร่งรัดการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรให้สำเร็จโดยเร็ว พัฒนาระบบในการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน - จ้าง อกม. เป็นผู้จัดเก็บข้อมูล - กำหนดช่วงเวลาที่แน่นอนในการจัดเก็บ และปรับปรุงข้อมูล - เชื่อมโยงการตรวจสอบข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - วางระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกัน
งานสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ (ต่อ) ๔. ป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งและภัยพิบัติต่างๆ เร่งรัดดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้ง โดยให้เกษตรกรและ ชุมชนมีส่วนร่วม จัดระบบให้ทุกหน่วยงานเข้ามาร่วมสนับสนุนกิจกรรม ตามแผนชุมชน
งานสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ (ต่อ) ๕. พัฒนาเกษตรกรและเกษตรกรรุ่นใหม่ พัฒนา Smart Farmer - มุ่งเน้นพัฒนาเกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่เป็นลำดับแรก - กำหนดแนวทางการพัฒนาเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ส่งเสริมฯ ทั้งหมดให้เป็น Smart Farmer - พัฒนากลุ่ม/องค์กรเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน เข้าสู่ การเป็น Smart Group พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ และสนับสนุนกิจกรรม ของยุวเกษตรกร
งานสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ (ต่อ) ๖. พัฒนาวิสาหกิจชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร มุ่งเน้นการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในเชิงคุณภาพ และพัฒนาสู่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภาคการเกษตร (A-SMEs) และวิสาหกิจเพื่อสังคม พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร และเชื่อมโยงกับเส้นทางท่องเที่ยวในพื้นที่ โดยชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการ
การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการเกษตรกร เราจะไปสู่เป้าหมายด้วยกัน สระบุรี ๒๕๕๙ สถานที่ @ ผังกระบวนงาน (พรบ.การอำนวย) ๑) การขึ้นทะเบียนเกษตรกร ๒) การจดทะเบียน วสช.@ เครือข่าย ระบบปฏิบัติงาน @ Mapping ๑) นโยบาย ฯลฯ ๒) ข้อมูลแผนที่ GIS ๓) ข้อมูลต้นทุน/การผลิต/ตลาด @ Remote Sensing ๑) ระบบสื่อสาร ๒) ระบบสืบค้นข้อมูล เป็นต้น @ Community Participation ๑) หน่วยงานภาคี ๒) องค์กรเครือข่าย ๓) เวทีต่าง ๆ เป็นต้น @ Specific Field Service ๑) เป้าหมาย ๒) ทิศทาง คน : พื้นที่ : สินค้า Smart farmer/Yong Smart F Smart Group Smart Product Zoning/ ศูนย์เรียนรู้ / แปลงใหญ่ ระบบงาน (บริการ) @ ระบบ ศชก. ๑) smart phone ๒) คอมฯ ๓) แบบคำร้อง @ thaismartfarmer.net ๑) ตรวจเช็คสถานะ ๒) ขอบริการสืบค้นข้อมูล (องค์ความรู้ /ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ) @ help.doae.go.th ๑) ร้องเรียน / ร้องทุกข์ ๒) ขอความช่วยเหลือ ๓) ขอข้อมูลข่าวสาร การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการเกษตรกร (SMART Office) SMART Officer Hardware/ Software
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๑.กรมส่งเสริมการเกษตร ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การฟื้นฟูความเชื่อมั่นและเร่งรัดวางรากฐานที่ดีของประเทศ ก.แผนงาน : สร้างอาชีพและรายได้ที่มั่นคงและยั่งยืนแก่เกษตรกรและผู้มีรายได้น้อย ผลผลิต โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตร ที่สำคัญ กิจกรรมหลัก บริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตร ที่สำคัญ (Zoning) โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) งบประมาณ ๒๑๓,๐๐๐ บาท โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ จำนวน ๓ จุดงบประมาณ ๗๗,๐๐๐ บาท
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๑.กรมส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) ผลผลิต โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart farmer) กิจกรรมหลัก พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart farmer) ๑) โครงการ พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart farmer) เกษตรกร ๑๓๕ ราย งบประมาณ ๘๓,๐๐๐ บาท ข. แผนงาน : ส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ผลผลิต โครงการพัฒนาศักยภาพของภาคเกษตรเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กิจกรรมหลักพัฒนาศักยภาพของเกษตรเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๑) โครงการพัฒนาศักยภาพของภาคเกษตรเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เกษตรกร ๔๐ ราย งบประมาณ ๓๒,๐๐๐ บาท
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๑.กรมส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและเป็นธรรม ก.แผนงาน : ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิต การสร้างมูลค่าภาคการเกษตร และการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรอย่างเป็นระบบ ผลผลิต เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมและให้บริการทางการเกษตร ๑) โครงการพัฒนาเครือข่ายงานส่งเสริมการเกษตร - กิจกรรม อาสาสมัครเกษตรกร งบประมาณ ๑๓๔,๔๐๐ บาท - กิจกรรม ขับเคลื่อนการทำงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ งบประมาณ ๓๓,๒๐๐ บาท
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๑.กรมส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) ๒) โครงการปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิตการเกษตร จำนวน ๑๓ ศูนย์ งบประมาณ ๖๔๓,๔๐๐ บาท ๓) โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช จำนวน ๑๓ ศูนย์ งบประมาณ ๓๕๘,๓๐๐ บาท ๔) โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตร จำนวน ๑๘๐ ราย งบประมาณ ๑๒๐,๐๐๐ บาท กิจกรรมหลัก ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ๑) โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จำนวน ๑๓ ศูนย์ งบประมาณ ๒๖๐,๐๐๐ บาท
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๑.กรมส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) กิจกรรมหลัก สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๑) โครงการพัฒนาพื้นที่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดสระบุรี เกษตรกร ๔๐ ราย งบประมาณ ๑๓๖,๐๐๐ บาท ๒) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ จำนวน ๔ ครั้ง เกษตรกร ๖๐๐ ราย งบประมาณ ๑๒๐,๐๐๐ บาท
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๑.กรมส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) ผลผลิต โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับประชาคมอาเซียน กิจกรรมหลัก พัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับประชาคมอาเซียน ๑) โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับประชาคมอาเซียน เกษตรกร ๒๐ ราย งบประมาณ ๕๖,๒๐๐ บาท ผลผลิต โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร ๑) โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร งบประมาณ ๘,๐๐๐ บาท
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๑.กรมส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) แผนงาน : ส่งเสริมสินค้าด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ผลผลิต โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน กิจกรรมหลัก พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน เกษตรกร ๓๕๖ ราย งบประมาณ ๓๙๒,๔๐๐ บาท โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและการปรับระบบผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เกษตรกร ๒๐๐ ราย งบประมาณ ๑๒๐,๐๐๐ บาท แผนงาน : พัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานราก ผลผลิต โครงการตลาดเกษตรกร กิจกรรมหลัก ตลาดเกษตรกร ๑) โครงการตลาดเกษตรกร งบประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๑.กรมส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) แผนงาน : พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ผลผลิต โครงการยุทธศาสตร์สินค้า (มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน อ้อย) กิจกรรมหลัก เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร โครงการส่งเสริมการผลิตมันสำปะหลัง เกษตรกร ๑๐๐ ราย งบประมาณ ๑๓๐,๐๐๐ บาท โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย เกษตรกร ๑๐๐ ราย งบประมาณ ๔๐,๐๐๐ บาท รวม ๒ ยุทธศาสตร์ ๕ แผนงาน ๙ ผลผลิต ๑๘ โครงการ เกษตรกร ๑,๗๗๑ ราย งบประมาณ ๒,๙๗๗,๑๐๐ บาท
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๒.จังหวัด/กลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๑ ผลผลิต การบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) กิจกรรมหลัก อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติแล้วิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาระบบธุรกิจอาหารปลอดภัยในระดับชุมชน เกษตรกร ๔๐๐ ราย งบประมาณ ๒,๙๘๕,๒๕๐ บาท กิจกรรมที่ ๑ ส่งเสริมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตพืช ปลอดภัย ๑) พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการผลผลิตผู้ประกอบการเกษตร จำนวน ๔๐๐ ราย ๒) ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต จำนวน ๔๐๐ ราย
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๒.จังหวัด/กลุ่มจังหวัด กิจกรรมที่ ๒ พัฒนาระบบบริหารจัดการธุรกิจและขยายผลตลาดเกษตรกร ๑) การจัดเวทีเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตและการตลาดของสมาชิกผู้ผลิตและองค์กรเกษตรกรที่บริหารตลาด เพื่อบริหารจัดการผลผลิตเข้าสู่ตลาดอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง เกษตรกร ๕๐ ราย จำนวน ๑ ครั้ง ๒) การประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร (โทรทัศน์ ๑ ครั้ง และวิทยุ ๒ สถานีๆ ละ ๕ เดือน) ๓) การพัฒนาตลาดเกษตรชุมชน เพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายในระดับอำเภอ ขยายกลุ่มผู้บริโภค (จัดมหกรรมสินค้า ๑ ครั้ง /ขยายตลาดเกษตรกร ๖ แห่ง) กิจกรรมหลักที่ ๓ พัฒนาฐานการเรียนรู้เครือข่ายผู้ผลิต เพื่อเสริมสร้างความ มั่นคงด้านอาหาร (ภายในมณฑลทหารบกที่ ๑๘)
ภาพรวมงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ๒.จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (ต่อ) จังหวัดสระบุรี โครงการพัฒนาการบริหารจัดการและเพิ่มผลผลิตพืชปลอดภัยรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน งบประมาณ ๒,๐๑๗,๖๐๐ บาท ๑.กิจกรรมเพิ่มศักยภาพศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชน งบประมาณ๓๐๘,๐๐๐ บาท ๒.กิจกรรมเฝ้าระวังและจัดการการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย งบประมาณ ๔๐๑,๐๐๐ บาท ๓.เพิ่มศักยภาพศูนย์เรียนรู้เกษตรปลอดภัยระดับอำเภอ งบประมาณ ๑,๓๐๘,๖๐๐ บาท
(แปลงใหญ่/ ศูนย์เรียนรู้ฯ/ฯลฯ) สรุป การบูรณาการโครงการ/กิจกรรมลงในพื้นที่ดำเนินการ โครงการ/กิจกรรม หน่วยงานอื่นๆ โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งเน้นการพัฒนา กาผลิตสินค้าเกษตร พื้นที่ดำเนินการ (แปลงใหญ่/ ศูนย์เรียนรู้ฯ/ฯลฯ) โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งเน้นการพัฒนา เกษตรกร/องค์กร โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งเน้นการพัฒนา เชิงพื้นที่
มาตรการติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ 1. เป้าหมายการเบิกจ่าย - ภาพรวม ร้อยละ ๙๖ - งบลงทุน ร้อยละ ๘๗ ไตรมาส รายจ่ายภาพรวม รายจ่ายลงทุน ไตรมาส 1 ๓๐ ๑๙ ไตรมาส ๒ ๒๒ ๒๑ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ ๒๓ ๒๖ รวม ๙๖ ๘๗ ๒. ฝึกอบรม ประชุมสัมมนา เบิกจ่ายมากกว่าร้อยละ ๕๐ ของวงเงินงบประมาณที่ได้รับ ๓. ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณเป็นตัวชี้วัด ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ๔. ไม่อนุมัติให้โอนเปลี่ยนแปลงทุกงบรายจ่าย ๕. เงินเหลือจ่ายให้แจ้งตัดคืนกรมฯ ภายใน ๓๑ ส.ค. ๕๙
นักส่งเสริมการเกษตร มิตรแท้ของเกษตรกร
ขอบคุณ