งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ๑. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๐ ๒. สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ปี ๒๕๖๐ ๓. สถานการณ์โรค มือ เท้า ปาก ปี ๒๕๖๐ ๒. ผลการดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมโรค ด้วยโปรแกรม R8-506 Dashboard เดือน มิถุนายน ๖๐
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี ปี ๒๕๖๐ สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี ปี ๒๕๖๐
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ข้อมูล วันที่ 1 มกราคม – 26 มิถุนายน 2560 ที่มา:สำนักระบาดวิทยา รายงานประจำสัปดาห์ที่ 26
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน จ จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน จ.อุดรธานี ปี 2560 เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี (2555-2559) ,Base line ,Target line จำนวนผู้ป่วย
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 60 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3.78 ต่อ ประชากรแสนคน อัตราป่วย โรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ 1 มกราคม 2560 – 26 มิถุนายน 2560 อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 24 ราย 4 ราย 18 ราย 2 ราย 4 ราย 2 ราย 2 ราย 2 ราย 1 ราย 1 ราย จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 60 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3.78 ต่อ ประชากรแสนคน ที่มา:รายงาน 506 งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 18 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1.13 ต่อ ประชากรแสนคน อัตราป่วย โรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ 1 มิถุนายน 2560 – 26 มิถุนายน 2560 อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 9 ราย 1 ราย 4 ราย 4 ราย จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 18 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1.13 ต่อ ประชากรแสนคน ที่มา:รายงาน ๕๐๖ งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 29 มิถุนายน 2560
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ สถานการณ์ในประเทศไทย - ตั้งแต่ 1 ม.ค.- 26 มิ.ย.60 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ จำนวน 32,965 ราย เสียชีวิต 3 ราย สถานการณ์ จังหวัดอุดรธานี - ตั้งแต่ 1 ม.ค. – 26 มิ.ย.60 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ จำนวน 117 ราย พบผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1) จำนวน 3 ราย (อ.เมือง 2 ราย , อ.บ้านดุง 1 ราย) พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H3) จำนวน 7 ราย พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ ชนิด B จำนวน 4 ราย
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ H1N1 จ.อุดรธานี
การสอบสวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ H1N1 รายแรก ผู้ป่วย หญิงไทย อายุ 33 ปี อาชีพแม่บ้าน ตั้งครรภ์ 37 wk. ไม่เคยได้รับวัคซีน การควบคุมโรค 1. เฝ้าระวังอาการผู้สัมผัสร่วมบ้าน จำนวน 3 คน ไม่มีอาการป่วย 2. แนะนำญาติทำความสะอาดและแยกสิ่งของ เครื่องใช้ร่วมกัน 3. ให้คำแนะนำ เผยแพร่ความรู้ให้ประชาชน หากมีอาการของโรคระบบทางเดินหายใจ ควรไปพบแพทย์โดยเร็ว 4. เฝ้าระวังผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน เป็นระยะเวลา 14 วัน 20 มิ.ย.60 - ไข้สูง ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อ หายใจเหนื่อย 21 มิ.ย.60 เข้ารับการรักษา รพ.อุดรธานี ห้องคลอด Dx. Pneumonia 22 มิ.ย.60 - ส่งตัวอย่าง Nasal swab - ได้รับยาต้านไวรัส Osel. 75 mg. x 5 วัน 23 มิ.ย.60 - คลอดด้วยวิธี C/S ลูกเพศหญิง นน. 3385 gm. สำลักน้ำคล่ำ ปอดติดเชื้อ ไม่ได้กินนมแม่ - ผล Lab H1N1 +ve
สัดส่วนผู้ป่วย ILI จังหวัดอุดรธานี จำแนกรายสถานบริการ ตั้งแต่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๐ – ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๐ ร้อยละ ภาพรวม 2.39 % ไม่ส่งข้อมูล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ ๒๕
Hand , foot and mouth disease
สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ข้อมูล วันที่ ๑ มกราคม – ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ ที่มา:สำนักระบาดวิทยา รายงานประจำสัปดาห์ที่ ๒๖
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 314 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 19.77 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วย โรค Hand , foot and mouth disease จำแนกรายอำเภอ ตั้งแต่ 1 ม.ค.60 – 29 มิ.ย.60 อัตราป่วย ต่อ ปชก.แสนคน 46 57 14 16 12 103 15 9 5 14 5 9 2 2 3 1 1 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 314 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 19.77 ต่อประชากรแสนคน ที่มา: รายงาน 506 สสจ.อุดรธานี
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 91 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 5.73 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วย โรค Hand , foot and mouth disease จำแนกรายอำเภอ ตั้งแต่ 1 มิ.ย.60 – 29 มิ.ย.60 อัตราป่วย ต่อ ปชก.แสนคน 50 7 13 1 1 1 2 1 1 9 5 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 91 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 5.73 ต่อประชากรแสนคน ที่มา: รายงาน 506 สสจ.อุดรธานี
มาตรการป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี สถานรับเลี้ยงเด็กและโรงเรียนอนุบาล ๑. ให้ความรู้เบื้องต้น และแนวทางการป้องกันโรคแก่ผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง ครูผู้ดูแลเด็ก ๒. ให้ครูคัดทำการคัดกรองเด็กทุกเช้าก่อนเข้าชั้นเรียน เพื่อให้สามารถค้นหาเด็กที่ป่วยได้อย่างรวดเร็ว ๓. ให้มีการทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ในชั้นเรียน ตามแนวทางการป้องกันควบคุมโรค ๔. การสั่งปิดสถานศึกษา ให้พิจารณาตามมาตรการที่กำหนด โดยประสานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อร่วมในการตัดสินใจสั่งปิด/ไม่ปิดโรงเรียน
มาตรการป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี (ต่อ) หัวใจสำคัญของการดำเนินการเพื่อป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ระบบรายงานโรค 3 สถาน : สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และสาธารณสุขจังหวัด การทำกิจกรรมการทำความสะอาดจริง การคัดกรองเด็กของครู/ผู้ปกครอง ประสาน 3 สถาน : สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และสาธารณสุขจังหวัด
มาตรการป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี สำหรับหน่วยบริการสาธารณสุข 1. จัดทำสถานการณ์โรค รายชื่อสถานศึกษาในพื้นที่ และลงพื้นที่เชิงรุกในการเฝ้าระวัง 2. การประสานกับสถานเลี้ยงเด็ก ให้ข้อมูลโรค สถานการณ์ และการเฝ้าระวัง 3. การวินิจฉัย เมื่อ จนท.ได้รับการแจ้งจากครู/ผู้ปกครอง ถ้าพบรายแรกของพื้นที่นั้น ให้ส่งพบแพทย์เพื่อวินิจฉัย และดำเนินการสอบสวนไปตามขั้นตอน รายอื่นๆ ดำเนินการสอบสวน และเข้าระบบรายงานตามปกติ 4. กรณีได้รับการประสานในการสั่งปิดโรงเรียน ให้เข้าร่วมและรายงานสาธารณสุขอำเภอ หัวหน้าหน่วยงานทราบทุกครั้ง (ข้อมูลจะอยู่ที่อำเภอ) และแจ้งจังหวัดทราบด้วย สำหรับงานควบคุมโรคฯ สสจ.อุดรธานี 1. ชี้แจงผู้บริหารระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ให้ทราบแนวทางปฏิบัติ และรายงานสถานการณ์โรคแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้บริหารฯ แจ้งพื้นที่ในการดำเนินงานตามมาตรการ ให้มีการรายงานทุกวัน
ผลการดำเนินงานการเฝ้าระวังและควบคุมโรค ด้วยโปรแกรม R8-506 Dashboard จังหวัดอุดรธานี ข้อมูล ตั้งแต่ 1 มิ.ย.60 – 28 มิ.ย.60 (28 วัน)
สวัสดี