สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
Advertisements

(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
แผนการเงินการคลัง (Planfin) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สถานการณ์โรคเรื้อรัง
สรุปผลการตรวจราชการฯ
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
สร้างเครือข่ายในชุมชน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
รายงานความก้าวหน้าคณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร (Chiang Mai Provincial Resource Supportive Board) 31 สิงหาคม 2560.
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
การตรวจราชการและนิเทศงาน
สรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการการเงินการคลัง (CFO)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561 สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561

กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์

ประเด็น : แผนงานโครงการ ประเด็น : แผนงานโครงการ โรงพยาบาลโรงพยาบาลวิเศษชัยชาญ   แผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่1 แผนการดำเนินการ จำนวนโครงการ อนุมัติ จำนวนงบประมาณ UC Non เงิน อื่นๆ แผน ผลการเบิกจ่าย (PP) บำรุง ระบุ แผนสุขภาพจังหวัด 3 2 1,911,621 1,862,321 - 39,300 1,747,362 แผนตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข นอกเหนือแผนสุขภาพจังหวัด 9 8 667,700 626,300 41,400 164,300 แผนภารกิจประจำ 1 1,782,905 1,755,805 7,600 19,500 892,987 รวม 14 11 4,362,226 3,618,126 673,200 70,900 2,804,649 ผลการดำเนินการ - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ

สสอ.วิเศษชัยชาญ ผลการดำเนินการ - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ   แผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่1 หน่วยงาน จำนวนโครงการ อนุมัติ จำนวนงบประมาณ UC Non เงิน อื่นๆ แผน ผลการเบิกจ่าย (PP) บำรุง ระบุ สสอ.วิเศษชัยชาญ 9 711,560 510,530 25,160 - 166,270 301,184 ผลการดำเนินการ - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา แผนงานโครงการ การเสนอขออนุมัติโครงการยังไม่ครบตามแผน โครงการที่อนุมัติแล้วอยู่ในระหว่างดำเนินการ - ระบบในการรายงานผลแผนงาน โครงการ ใน web ศูนย์ข้อมูลโรงพยาบาล ไม่รายงานผลการดำเนินงานผู้รับผิดขอบโครงการมีภาระงานหลายด้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ -ผู้รับผิดชอบโครงการเร่งรัดจัดทำโครงการ -หน่วยงานกำหนดแนวทางในการติดตามตามงานตามตามแนวทางที่ สสจ. กำหนดและชี้แจงเจ้าหน้าที่ความรับผิดชอบ -นำเรื่องเข้าเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล

งานเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 1. การดูแลโปรแกรมบัน ข้อมูลสุขภาพ(HOSxP, HOMC) - การบำรุงรักษา สำรอข้อมูล - การบันทึกข้อมูล และ ส่งออกข้อมูล สภาพเครื่องที่ใช้งานในการบันทึกข้อมูล เครื่อง HOSxP ประมาณ 100 เครื่อง Server 3 เครื่อง PC server 1 เครื่อง ผู้รับผิดชอบหน้างานเปลี่ยนการคัดกรอง CVD Risk บันทึกข้อมูล พื้นฐาน ANC สอนงานผู้รับผิดชอบใหม่ ติดตามงานในที่ประชุม ของ รพ. เช่น การตรวจสอบผลงานมะเร็งปากมดลูก การบันทึกการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 2. การดำเนินงานในบทบาทคณะกรรมการคุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ - ทีมพัฒนาคุณภาพ ข้อมูล Health Data Center (HDC) ทบทวนคำสั่งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพข้อมูล ปี 2561 มีแผนการดำเนินงาน ปี 2561 จะประชุมคณะกรรมการฯ เดือน กุมภาพันธ์ 2561 3. คุณภาพข้อมูล ตามตัวชี้วัดการ ตรวจราชการ - ข้อมูลสาเหตุการตายที่ไม่ทราบสาเหตุ ( ill-defined error) ข้อมูล เดือน ตค. พย.60 ตายทั้งหมด 123 คน Ill error 40 คน ร้อยละ 32.5 - ยังไม่มีการติดตามข้อมูลสาเหตุการตาย ของของการตาย นอก รพ. ประสานข้อมูลกับที่ว่าการอำเภอ ใช้ข้อมูล จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 4.รูปแบบการใช้ประโยชน์จากศูนย์ข้อมูลอำเภอ มีเว็บไซต์ ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร แผนงานโครงการ ผลงานประจำเดือน นวตกรรม ผลงานตามตัวชี้วัด การติดตามการบันทึกข้อมูลของผู้รับผิดชอบ ปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบการบันทึก

กลุ่มงานควบคุมโรค

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง Primary Prevention 1 ผลการคัดกรอง DM ร้อยละ 88.3 HT ร้อยละ 91.3 กลุ่มเสี่ยง DM 1,094 ราย ร้อยละ 4.4 HT 3,037 ราย ร้อยละ 14.3 2 แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรค กิจกรรมเข้าค่าย ร้อยละ 20 HBPM > 10% 3 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(น้ำพุ) ผลการคัดกรองต่ำ คือ รพ.สต. ม่วงเตี้ย ร้อยละ 76.4 1. สสอ. ติดตามการคัดกรองให้มากกว่าร้อยละ 90 ในเดือน มกราคม 2561

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา Secondary Prevention 1 การควบคุมระดับน้ำตาล ร้อยละ 8.1 การควบคุมระดับความดัน ร้อยละ 28.6 2. ผลการคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน - CVD Risk ร้อยละ 74.6 - จอประสาทตา ร้อยละ 17.1 - ไต ร้อยละ 28.4 - เท้า ร้อยละ 36 3 แผนการแก้ไข 3.1 การจัดค่ายผู้ป่วย DM 120 คน 3.2 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่ม CVD Risk สูงจำนวน 60 คน 1 มีการคัดกรอง ตา แล้วแต่ยังไม่ได้อ่านผลจึงยังไม่ได้ลงข้อมูล 2 การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ต่ำกว่าเป้าหมาย 1 การจัดโปรแกรมปรับเปลี่ยนและติดตามกำกับการประเมินผลที่ชัดเจน 2 ติดตามการลงข้อมูลตรวจตา 3. วางแผนการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรค 1.ผลการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 2. อัตราอุบัติการณ์วัณโรค ปี 58 = 68.9 : แสน ปี 59 = 95.9 : แสน ปี 60 = 95.9 : แสน ปี 61 พบผู้ป่วย TB 13 ราย คิดเป็น 19.6 : แสน(เป้าหมาย 114 ราย 1 ขาดเป้าหมายและการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 2 ขาดผู้รับผิดชอบ TB Clinic ของ รพ -จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องของ CUP วิเศษ เพื่อกำหนดกิจกรรมการปฏิบัติและจัดทำ Time Line ให้ชัดเจน - นำเสนอผลการดำเนินงานเสนอผู้บริหารรายสัปดาห์ เป้า ผลงาน ร้อยละ 1 ผู้สัมผัส TB - 2 HIV 3 DM รายใหม่ DM คุมน้ำตาลไม่ได้ 4 แรงงานต่างดาว 5 สูงอาย 65 ปีขึ้นไป COPD 6 บุคลการการแพทย์

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรค 3. อัตรารักษาสำเร็จ ปี 57 = 96.1 ปี 58 = 92.7 ปี 59 = 86.7 ปี 60 (ไตรมาส 1) = 75.6

กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา เด็กปฐมวัย (0-5) ปี เด็กวัยเรียน (6-14ปี ) สูงดีสมส่วน 1 มีแผนงานโครงการแก้ปัญหา 2 มีผู้รับผิดชอบโครงการ Project Manager - จะจัดอบรมครูศูนย์เด็กเล็กและ รร.ประถมเดือน ม.ค. 61 ยังอยู่ระหว่างการสำรวจศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนที่มีเด็กอ้วนเกิน 10% เพื่อจัดการน้ำหนัก เร่งรัดสำรวจข้อมูลเด็กอ้วน อ้วนเตี้ย ให้แล้วเสร็จเพื่อแก้ปัญหารายบุคคลแล้วจัดกิจกรรม

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) HA มีการจัดทำรายงานความก้าวหน้าของการพัฒนา ส่ง สรพ. เพื่อขอ Acc แล้วและให้แก้ไขส่งแล้วเมื่อ 15 ธ.ค. 60 สรพ นัด Education Program วันที่ 30 มค 61 แผนการเยี่ยมสำรวจภายในโรงพยาบาล (Internal Survey) ของปีงบประมาณ 2561 ยังไม่ชัดเจน ควรทำแผนให้ชัดเจนเพื่อการกำกับติดตามงาน

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) Home Ward มีทะเบียนผู้ป่วยติดเตียงในภาพ CUP แต่ในส่วนของ รพ.ยังขาดข้อมูลในกลุ่มอายุที่ต่ำกว่า 60ปี และทุกสิทธิ์ มีทะเบียนอุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยติดเตียงแต่ยังขาดในส่วนของ รพ. จากการสุ่มเยี่ยมผู้ป่วยพบว่ามีการทำแฟ้มผู้ป่วยที่บ้านมีการบันทึกการเยี่ยมบ้าน - ไม่มีผู้รับผิดชอบหลักของ รพ. ให้กำหนดผู้รับผิดชอบหลักของ รพ. จัดทำทะเบียนผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุและทุกสิทธิ์ (รพ.) ให้ประสานการจัดทำทะเบียนผู้ป่วยและทะเบียนอุปกรณ์กับ อรวรรณ (สสอ.)

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการพัฒนาคณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ) มีร่างคณะกรรมการ พชอ ตามระเบียบสำนักนายก มีฐานข้อมูลเกี่ยวกับด้านคุณภาพชีวิตได้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียง อยู่ระหว่างดำเนินการ ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการ พชอ. ตามมระเบียบสำนักนายก กำหนดวันประชุม คณะกรรมการพชอ. ในการวิเคราะห์ปัญหา ประเด็นการพัฒนา เพื่อคัดเลือกประเด็น 2 เรื่อง โครงการ รพ.สต. ติดดาว แต่งตั้งคณะกรรมการฯระดับอำเภอ กำหนดพื้นที่ 5 แห่ง ดำเนินการประชุมถ่ายทอดเกณฑ์คณะกรรมการระดับอำเภอและ รพ.สต. ในที่ประชุม คปสอ. รพ.สต. ประเมินตนเองส่งภายในวันที่ 12 ม.ค. 61 ขั้นตอนระเบียบพัสดุในการปรับโครงสร้าง รพ.สต ศึกษาระเบียบและเรียนรู้จากผู้รับผิดชอบของ รพ.วิเศษชัยชาญ

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการพัฒนาระบบแพทย์ปฐมภูมิ ดำเนินการปรับ mapping ใหม่โดยตัดรับสาวร้องไห้กับมาอยู่กับอำเภอวิเศษชัยชาญ จัดเป็น 6 ทีม ขาดแพทย์ FM เตรียมสรรหาแพทย์ FM รองรับการเปิดทีม2 ในปี 62

กลุ่มงานทันตสาธารณสุข

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) โครงการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ช่องปากใน รพ.สต. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 9 แห่งจาก 15 แห่ง ร้อยละ 60 - ควรมีการพัฒนา อสม.เชี่ยวชาญ

กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 1.มีแผน และผลการดำเนินงานการตรวจสอบคุณภาพและฉลากของผลิตภัณฑ์สุขภาพในไตรมาสที่ 1 2.มีแผนการออกตรวจประเมินสถานที่ผลิตตามเกณฑ์ GMP/Primary GMP 3.การดำเนินการจัดซื้อชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการจัดซื้อแล้ว มีแผนการออกตรวจประเมินสถานที่ผลิตตามเกณฑ์ GMP/Primary GMP แต่ไม่สอดคล้องกับช่วงเวลาการประเมินผลปฏิบัติราชการ ปรับแผนการตรวจให้สอดคล้องกับช่วงเวลาประเมินผล

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ไม่ผ่าน RDU 1 (ระดับรพ.) ขั้นที่ 2 1.ส่วนของ รพ. ตชว.ที่ยังไม่ผ่าน คือ 1.1URI เกณฑ์≤20% ผลงาน 23.29% 1.2 AD เกณฑ์≤20% ผลงาน 23.69% 1.3แผลสด เกณฑ์≤40% ผลงาน 67.38% 1.4 ญ.คลอด เกณฑ์≤10% ผลงาน 35.71% 2. ข้อมูลรายงานจาก HDC และ HosXp ผลแตกต่างกันมาก เช่น การใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอด จากHDC เป็น 20/56=35.71% จาก HosXp เป็น 5/47=10.63% 1.1 จัดทำ check list การสั่งใช้ยาใน 3 ตชว.แรกเสนอที่ประชุม PTC รพ.และมีหนังสือแจ้งองค์กรแพทย์และกลุ่มการพยาบาล 1.2 ผอ.สั่งการให้รายงานผลการดำเนินงานเพื่อติดตามทุกสัปดาห์ 2.ทวนสอบข้อมูลโดยการบันทึกมือของพยาบาลเทียบกับข้อมูล HosXp

ให้รพ.สต.ปฏิบัติตามGuideline การจ่ายยา ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ผ่าน RDU 2 (ระดับอำเภอ)ขั้นที่ 2 เกณฑ์ 60% ผลงาน 86.67% ตชว URI ไม่ผ่านเกณฑ์ (≤20%)2 รพ.สต ได้แก่ ไผ่จำศีล 26.09% และ ม่วงเตี้ย 50% ให้รพ.สต.ปฏิบัติตามGuideline การจ่ายยา

กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา การดำเนินการงานถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับบุคคลของหน่วยงาน - กระบวนการในการถ่ายทอดตัวชี้วัด - มีการนำตัวชี้วัดของผู้บริหารมา Cascade ส่งหัวหน้า กลุ่มงาน ผอ.รพ.สต. และถ่ายทอดลงสู่ผู้รับผิดชอบ ทุกคนและรวมกลุ่มกันกำหนดตัวชี้วัด

งานการเงินและบัญชี

คณะ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ (แผนยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาลGovernance Excellence) โครงการที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบปัญหาวิกฤตทางการเงิน สรุปนิเทศโรงพยาบาลวิเศษชัยชาญ วันที่ 8 มกราคม 2561

ประเด็นการตรวจ 1.การบริหารแผนทางการเงินและการกำกับติดตาม 1.1การจัดทำแผนทางการเงินการทำแผนทางการเงิน ครบถ้วน 7 แผน ผ่านการอนุมัติจากนพ.สสจ. และผู้ตรวจราชการตามกำหนดเวลา 1.1.1การทำแผน planfinรายได้ (ไม่รวมงบลงทุน) จำนวน 174,233,180.69 บาท ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อม) จำนวน 174,191,901.56 บาท ทำแผนแบบเกินดุล EBITDA = 41,279.13 บาทวงเงินที่ลงทุนได้ (ร้อยละ 20%ของ EBITDA = 8,255.83 บาททำแผนลงทุนด้วยเงินบำรุง - บาท งบลงทุนด้วยเงินบำรุงเปรียบเทียบEBITDA>20% = - บาท NI = -7,016,154.71 บาท มีงบลงทุน = 6,509,741.12 บาท (งบค่าเสื่อม(70%) = 2,499,741.12บาท (เงินบำรุง - บาท) เงินงบประมาณ 4,060,000 1.1.2.แผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จำนวน จำนวน 29,383,771.96 บาท 1.1.3.แผนจัดซื้อวัสดุอื่น จำนวน 4,448,470.42 บาท 1.1.4.แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ จำนวน 46,166,887.40 บาท 1.1.5.แผนบริหารจัดการลูกหนี้ จำนวน 58,312,558.97 บาท 1.1.6.แผนงบลงทุน จำนวน 6,509,741.12 บาท 1.1.7.แผนสนับสนุนรพสต.จำนวน 8,510,395.05 บาท

1.ทำแผนรายได้ (ไม่รวมงบลงทุน) ในภาพรวมรายได้เพิ่มขึ้น 1,643,154.01 บาท ปัญหาที่พบ 1.ทำแผนรายได้ (ไม่รวมงบลงทุน) ในภาพรวมรายได้เพิ่มขึ้น 1,643,154.01 บาท (มีรายได้ uc ลดลง -5,485,924.14 บาท ,เพิ่มรายได้กรมบัญชีกลาง 3,003,602.45บาท) 2.ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อมราคา) เพิ่มขึ้นจำนวน 13,004,491.85บาท (8.06%) (ยา(4.04ล้าน สูงขึ้นเนื่องจากรองรับ pcc (บางจัก) และเพิ่มบริการด้านรักษาคนไข้ตา,คนไข้ออร์โธปิดิกส์ ,พัฒนาการเด็ก) ,เวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์(0.88ล้าน),วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์(0.28ล้าน,วัสดุทันตกรรม(0.04ล้าน) เงินเดือนค่าจ้าง 4.7 ล้าน ค่าจ้างชั่วคราว 0.39ล้าน) ค่าใช้สอย 1.02ล้าน) วัสดุใช้ไป 1.2 ล้าน) 3.งบค่าเสื่อม ทำแผนในแผนงบลงทุนเพียง 70% วงเงิน 2,449,741.12 บาท รพสต.1,049,889.05 บาท โดยรพ.ต้องทำแผนตามที่ได้รับจัดสรรงบค่าเสื่อม(สำหรับรพ.) เท่ากับ 3,930,000 บาท (รพ.สต. 1,799,680บาท)

แนวทางการแก้ไขปัญหา มาตรการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน ปี 2561 1.ควรกำกับติดตามรายได้และค่าใช้จ่าย 2. ให้มีการวิเคราะห์รายรับและรายจ่ายจากการเพิ่มบริการ 3.การจัดทำแผนงบค่าเสื่อม จัดทำให้เป็นไปตามการจัดสรร(รพ.และรพ.สต.) มาตรการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน ปี 2561 1.การเพิ่มรายได้โรงพยาบาลมีเป้าหมายและผู้รับผิดชอบชัดเจน 2.การจัดทำแผนบริหารเจ้าหนี้ มีการกำหนดแนวทางในการชำระหนี้การค้าเรียงตามลำดับอายุหนี้(งานการเงิน กลุ่มงานบริหาร) 3.การจัดทำแผนบริหารลูกหนี้ มีผู้รับผิดชอบในการเรียกเก็บหนี้ค่ารักษาพยาบาลในแต่ละสิทธิ ที่มีการเรียกเก็บ มีทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามนโยบายกระทรวง (มอบกลุ่มงานประกัน,การเงิน) 4.การจัดทำแผนงบลงทุน (งบค่าเสื่อมในส่วนของรพ. 6 รายการ อยู่ระหว่างรอการอุทธรณ์ คาดว่าจะ ลงนามสัญญาประมาณสิ้นเดือนมกราคม 2561) ในส่วนของรพ.สต.โอนเงินให้รพ.สต.จัดหาเองโดยกำหนดให้เบิกจ่ายภายใน มีนาคม 2561) มีการจัดหางบลงทุนเป็นไปตามแผนโดยมีผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน(กลุ่มงานบริหาร 5.การจัดทำแผนสนับสนุนรพ.สต. โดยผ่านคณะกรรมการคปสอ. ซึ่งปัจจุบันได้โอนเงิน fixcost ในไตรมาสที่ 1 ให้รพ.สต.ครบทุกแห่ง

ประเด็นการตรวจ ปัญหาที่พบ 1.2 การกำกับติดตาม planfin (เป้าหมาย : ผลต่างแผนและผลไม่เกินร้อยละ 5%) (ผลการดำเนินงานเดือนพ.ย.60) ด้านรายได้ มากกว่า 8,720,883.76บาท (ร้อยละ 28.95) ด้านรายจ่าย น้อยกว่าแผน -2,987,936.16 บาท (ร้อยละ 9.55%) ปัญหาที่พบ ด้านรายได้ 1.มากกว่าแผนเกินร้อยละ 5 -รายได้ uc เป็นการจัดสรรล่วงหน้า 6 เดือน ทำให้มากกว่า7,812,449.49 (ร้อยละ 100.91) 2.น้อยกว่าแผน มีดังนี้ รายได้กรมบัญชีกลาง น้อยกว่าแผน 62,095.30 บาท (-1.49) เป้าหมายเพิ่มขึ้น 3 ล้าน

ด้านรายจ่าย น้อยกว่าแผน -2,987,936.16 บาท (ร้อยละ 9.55%) ปัญหาที่พบ 1.มากกว่าแผน -วัสดุวิทยาศาสตร์ 328,827.77 (49.32%) เนื่องจากมีการสนับสนุนให้รพสต.ในงานคัดกรองในไตรมาส 1 -วัสดุใช้ไป 87,186.92 บาท (8.64%) ) เนื่องจากผู้ป่วยในเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา (เฉลี่ยเดือนละ 30 ราย) 2.น้อยกว่าแผน -ยาใช้ไป 541,032.28 (-17.81%)โดยมีแผนซื้อไตรมาส 1= 4,876,493.48 จัดซื้อไตรมาส 1 = 4,442,940.53 ซื้อต่ำกว่าแผน จำนวน 433,552.95 บาท เนื่องจากวางแผนเพิ่มคลังจากน้อยกว่า 1 เดือน เป็น 1.5-2 เดือน เพื่อป้องกันยา ขาดและการจัดซื้อยาตามพรบ.ใหม่มีความยุ่งยากซับซ้อนอยู่ระหว่างการเรียนรู้ -วัสดุทันตกรรม ซื้อต่ำกว่าแผน 96,333 บาท เนื่องจากการเปลี่ยนระเบียบการจัดซื้อและซื้อร่วม -ค่าใช้จ่ายอื่น 1,170,681.94 (พตส.ยังได้รับโอนเงินจากสสจ) แนวทางการแก้ไข รายได้ให้มีการกำกับติดตามผลการดำเนินงานที่ไม่เป็นไปตามแผนโดยการวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการแก้ไข ค่าใช้จ่ายให้มีการกำกับติดตามและควบคุมให้เป็นไปตามแผน ให้มีการกำกับติดตามเป็นรายเดือนเสนอคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล (แผนทางการเงิน 7 แผน) ( โดยปกติทางรพ.กำหนดเรื่องการบริหารการเงินการคลังเป็นวาระการประชุมคณะกรรมการบริหารฯ)

ประเด็นการตรวจ 2.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) ผลการดำเนินงานไตรมาส 4/60 ผ่าน ....6...... ตัว ไม่ผ่าน ..1......ตัว (ระยะเวลาชำระหนี้) ผล = 304.76 วัน (cash =0.31)เกณฑ์ชำระไม่เกิน 180 วัน แนวทางการแก้ไข -มีการบริหารแผนเจ้าหนี้ (ตามแผนบริหารจัดการเจ้าหนี้) มีแผนการจัดซื้อและดำเนินการตามแผน -มีการจัดทำรายงานเจ้าหนี้เป็นปัจจุบันตามนโยบาย -มีมาตรการเรื่องการบริหารสินค้าคงคลัง เช่น อัตราสินค้าคงคลังขั้นต่ำ /ขั้นสูง เพื่อให้ส่งผลกับการจัดซื้อและการบริหารเจ้าหนี้

ประเด็นการตรวจ 3.คะแนนการประเมิน FAI (เป้าหมาย : คะแนนผลการประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) ประกอบด้วย 4 กิจกรรม กิจกรรมการควบคุมภายใน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง การบริหารต้นทุน ผลการดำเนินงานไตรมาส 4 /60 คะแนนการประเมิน FAI ได้ร้อยละ 100 มาตรการดำเนินงานในปี 2561 - ทบทวนคณะทำงานแต่ละกิจกรรมให้มีดำเนินงานตามเกณฑ์ที่กำหนดในแต่ละกิจกรรม คณะทำงานมีการประเมินและรายงานผลการประเมินอย่างน้อยรายไตรมาสตลอดจนนำผลกาประเมินไปใช้เพื่อวางแผนและแก้ไขในแต่ละประเด็น และมีการติดตามการแก้ไขตามแนวทางที่กำหนด นำเสนอผลการประเมินรายไตรมาสให้คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล

กลุ่มงานประกันสุขภาพ

ประเด็น : ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม ประเด็น : ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โรงพยาบาลมีการกำหนดเป้าหมายและมาตรการดำเนินงานพร้อมผู้รับผิดชอบหลักเป็นรายกิจกรรม โดยผ่านการวิเคราะห์ปัญหา และสาเหตุจากปีที่ผ่านมา เพื่อกำหนดแนวทางของปี 2561 ได้อย่างชัดเจน ดังนี้ Fitness เพิ่มขึ้นจากปี 60 = 240,000 บาท/ ปี 2. กายภาพ เพิ่มขึ้นจากปี 60 = 300,000 บาท/ปี 3. แพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้นจากปี 60 =324,000 บาท/ปี 4 ทันตกรรมเพิ่มขึ้นจากปี 60 = 240,000 บาท/ปี 5.ห้องพิเศษเพิ่มขึ้นจากปี 60 = 340,000 บาท/ปี -ภาพรวมเป้าหมายเพิ่มรายได้ คือ 1,444,2000 บาท /ปี = ร้อยละ 10.64 (นโยบาย นพ.สสจ. ภาพรวมทุกกิจกรรม เพิ่มร้อยละ 10) ผลงาน ต.ค. 60- ธ.ค. 60 ได้น้อยกว่าเป้าหมายทุกกิจกรรม ยกเว้นห้องพิเศษ ได้มากกว่าเป้าหมาย -ภาพรวมผลกงาน น้อยกว่าแผน = 510,912.78 บาท ผลงานยังไม่ได้ตามเป้าหมายเนื่องจากมีการกำหนดมาตรการร่วมกนเดือนธันวาคม 2560 เริ่มดำเนินการตามมาตรการ มกราคม 2561 กลุ่มงานทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องดำเนินงานตามมาตรการและนำเสนอผลการดำเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล

จบการนำเสนอ