ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเลือกใช้ซอฟท์แวร์ในงาน สารสนเทศ และแนวโน้มของ การพัฒนาซอฟท์แวร์ใน อนาคต การออกแบบและพัฒนา ซอฟท์แวร์ บทที่ 10.
Advertisements

การบริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศ
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
Business System Analysis and Design (BC401)
BC424 Information Technology 1 บทที่ 7 การพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System Development)
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
NEW MEDIA. สื่อใหม่ คือ สื่อเก่าที่เปลี่ยนรูปลักษณ์ ภายนอก คุณเชื่อความคิดนี้หรือไม่
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑๕ ( เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท ) ปี การศึกษา ๒๕๕๙ ดร. กัมพล ไชยนันท์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์
สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
อยู่ระหว่างดำเนินการ
ระบบการชำระเงินของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Payment System
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
TCP/IP Protocol นำเสนอโดย นส.จารุณี จีนชาวนา
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
Road to the Future - Future is Now
Introduction to RapidMiner Studio
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
Controlling 1.
การพัฒนางานผู้ป่วยนอก
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
การออกแบบระบบ System Design.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
วิเคราะห์ข้อมูลแบบ Real-Times
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การเพิ่มกลุ่มข้อมูลลงในกราฟโดยใช้ Graph Wizard
Software Engineering ( )
Agenda ::: ระบบงานทะเบียนสวนป่า RFD Single Window ปี 2561
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
ขั้นตอนและระยะเวลาการบริการ
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การสื่อสารจากกระทรวงไปสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
การเปลี่ยนแปลงการแสดงผลข้อมูลในระบบการแจ้งเข้า-ออกเรือประมง
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
อุทธรณ์,ฎีกา.
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
ตลาดบริการ และ ลูกค้าเป้าหมาย วิชาการจัดการธุรกิจบริการ
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
Introduction to Structured System Analysis and Design
บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.1 ความหมาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 5.2 การดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม 1.4.2 Portfolio Analysis : สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ แข็งแรง ปานกลาง อ่อนแอ พัฒนายุทธศาสตร์การบริหารของกระทรวง สูง Out Source ให้เอกชนดำเนินการ รับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการ ฝึกอบรม 210 อัตรา 164 อัตรา ต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ ระดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ ให้ศูนย์ทดสอบเอกชนดำเนินการ ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในสาขาที่มีความพร้อม กลาง ต่ำ หมายเหตุ : 1. แกนตั้ง “ระดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ” หมายถึง ภารกิจนั้น ๆ แนวโน้มในอนาคตยังคงมีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนพัฒนาประเทศอยู่หรือไม่ หรือความสำคัญจะลดลง โดยมีเทคโนโลยีหรือภารกิจแบบใหม่เข้ามาทดแทน แกนนอน “ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ” หมายถึง ความพร้อมหรือขีดความสามารถ (capacity) ขององค์การในการดำเนินภารกิจนั้น ๆ (สามารถใช้ผลการวิเคราะห์หัวข้อ 1.3 ประกอบการพิจารณา) ในการวิเคราะห์ให้พิจารณาจากภารกิจหลักไม่เกิน 5 ภารกิจหลัก (เป็นผลจากข้อมูลหัวข้อ 2.1.1 และ 2.2.1) ขนาดของ bubble แสดงถึงจำนวนอัตรากำลังของภารกิจ/งานนั้น ๆ

ปัจจุบัน ข้อเสนอ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและอัตรากำลังที่จะรองรับบทบาทภารกิจใหม่ในอนาคต ปัจจุบัน ข้อเสนอ อัตรากำลัง ข้าราชการ 1,326 ลูกจ้างประจำ 712 พนักงานราชการ 708 อัตรากำลัง ข้าราชการ 1,326 ลูกจ้างประจำ 712 พนักงานราชการ 708 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มตรวจสอบภายใน กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ ส่วนกลาง กลุ่มตรวจสอบภายใน กองพัฒนาศักยภาพแรงงาน และผู้ประกอบกิจการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มกฎหมาย สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กองกฎหมาย สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก สำนักงานเลขานุการกรม สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน สำนักงานเลขานุการกรม สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน กองบริหารการคลัง กองบริหารการคลัง สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 1 - 25 กองแผนงานและสารสนเทศ กองบริหารทรัพยากรบุคคล ศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานรับรองความรู้ความสามารถ ส่วนภูมิภาค กองแผนงานและสารสนเทศ หน่วยงานที่จัดตั้งตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ พ.ศ. 2559 สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 1 - 25 หน่วยงานที่จัดตั้งตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ พ.ศ. 2559 สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 52 แห่ง หน่วยงานที่ขอจัดตั้งให้ปรากฏ ในกฎกระทรวง

ภารกิจ 1 (กิจกรรม 1 : งานกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน) ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - จัดทำและพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพหลัก - ส่งเสริมการจัดทำและการใช้มาตรฐานผู้ประกอบอาชีพ ภารกิจ 1 (กิจกรรม 1 : งานกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน) - กำกับดูแลการดำเนินงานของศูนย์ทดสอบฯ ให้เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพ - กำหนดสาขาอาชีพที่จะให้ศูนย์ทดสอบเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ ให้สมาคมวิชาชีพ/อาชีพเป็นผู้ดำเนินการด้านการพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงาน ฝึกอบรม และทดสอบ โดยกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเป็นหน่วยกำกับดูแลด้านคุณภาพและธรรมาภิบาล ภารกิจ 1 (กิจกรรม 2 : งานส่งเสริมการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน) ภารกิจ 1 (กิจกรรม 4 : งานพัฒนาระบบมาตรฐานฝีมือแรงงาน) - ยกระดับระบบ e-testing ให้ครอบคลุมมาตรฐานฝีมือแรงงานทุกสาขา สามารถใช้งานได้ง่าย

) ภารกิจ 2 (กิจกรรม 1 : งานพัฒนาระบบฝึก ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - พัฒนาระบบรูปแบบการฝึก ให้สอดคล้องกับหลักสูตร เอกสาร ประกอบการฝึกและสื่อการฝึก โดยใช้ระบบบริหารการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (CMI) ภายใต้รูปแบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) - กำกับการดำเนินงานของศูนย์ฝึกอบรม ให้เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพ - ออกวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-certificate) ) ภารกิจ 2 (กิจกรรม 1 : งานพัฒนาระบบฝึก ภารกิจ 2 (กิจกรรม 3 : งานพัฒนาหลักสูตรและเทคโนโลยีการฝึก) - พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร เอกสารประกอบการฝึกอบรมและสื่อการฝึกตามความสามารถและ time base (E-learning/CBT/KM) ภารกิจ 2 (กิจกรรม 5: งานพัฒนาวิทยากรต้นแบบ) - พัฒนาวิทยากรต้นแบบให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน - ส่งเสริมให้มีวิทยากรต้นแบบให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน - ดำเนินการฝึกอบรมให้แก่แรงงาน กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และแรงงานในสถานประกอบกิจการ - ดำเนินการฝึกร่วมกับสถานประกอบกิจการในสาขาที่สถานประกอบกิจการมีความพร้อมด้านอุปกรณ์และเครื่องจักร ครูฝึกหรือผู้เชี่ยวชาญ สาขาที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (High-technology) ภารกิจ 2 (กิจกรรม 6: งานฝึกอบรม)

ภารกิจ 3 (กิจกรรม 1 : งานบริหารกองทุน) ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - วางระบบการยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) - นำเทคโนโลยี Internet of Thing มาใช้กับผู้เกี่ยวข้องในทุกระดับ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และบริหารจัดการระบบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด - วางระบบการยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) และ นำระบบ e-Payment มาใช้ในการชำระเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ภารกิจ 3 (กิจกรรม 1 : งานบริหารกองทุน)

ภารกิจ 3 (กิจกรรม 2 : งานส่งเสริมและรองรับสิทธิประโยชน์) ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - Outsource ให้หน่วยงานเอกชนที่ได้รับการยอมรับเป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของหลักสูตรและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการฝึกอบรมของสถานประกอบกิจการที่เข้าข่ายตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 และกรมเป็นผู้ออกหนังสือรับรองให้แก่สถานประกอบกิจการในฐานะนายทะเบียน - ขยายระบบ e-Service การยื่นขอรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ให้ครอบคลุมทุกประเภทการฝึก (ปัจจุบันยื่นผ่านระบบ e-Service ได้เฉพาะการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ) - จัดทำระบบ e-Service ระบบการตรวจสอบข้อมูลสำหรับสถานประกอบกิจการ เพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อมูลผลการยื่นขอรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและการประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน - วางระบบการติดตามการฝึกอบรมของสถานประกอบกิจการภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้ครอบคลุมทุกหลักสูตร ทุกรุ่น ตามแผนการฝึกอบรมของสถานประกอบกิจการ ผ่านระบบ conference /แบบ Real time - พัฒนาระบบ e-service ในรูปแบบของ website/mobile application โดยพัฒนากระบวนการตั้งแต่ต้นกระบวนการจนสิ้นสุดกระบวนการ (end-to-end process) - ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับรูปแบบการทำงานในอนาคตเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการ - วางระบบการติดตามและประเมินผลการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 - วางแนวทางในการกำหนดกรอบอัตราค่าใช้จ่ายในการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ กรณีผู้ประกอบกิจการเป็นผู้จัดฝึกอบรมเอง (เทียบเคียงกับกรอบค่าใช้จ่ายกรณีฝึกเตรียมเข้าทำงาน) ภารกิจ 3 (กิจกรรม 2 : งานส่งเสริมและรองรับสิทธิประโยชน์)

ภารกิจ 4 (กิจกรรม 3 : งานส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายพัฒนาฝีมือแรงงาน) ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - นำหลักการของ Big Data มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูล และสนับสนุนการจัดทำยุทธศาสตร์ต่างๆ ภารกิจ 4 (กิจกรรม 2 : งานพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและประสานการฝึกอาชีพ) - บริหารจัดการและประสานภาคีเครือข่ายประชารัฐให้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ภารกิจ 4 (กิจกรรม 3 : งานส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายพัฒนาฝีมือแรงงาน) - ขยายสาขาอาชีพที่จำเป็นต้องรับรองความรู้ความสามารถ - ส่งเสริมให้มีการดำเนินการจัดตั้งศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ - พัฒนาระบบประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ (Big Data) สำหรับการบริการข้อมูลการรับรองความรู้ความสามารถ ภารกิจ 5 (กิจกรรม 1 : งานศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถ) - พัฒนาบุคลากรผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ประเมินความรู้ความสามารถเพื่อรองรับการขยายสาขาอาชีพที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะในอนาคตพัฒนาเครื่องมือในการรับรองความรู้ความสามารถ (E-license) - พัฒนาเครื่องมือในการรับรองความรู้ความสามารถ (E-license) ภารกิจ 5 (กิจกรรม 3 : พัฒนาระบบและรูปแบบการรับรองความรู้ ความสามารถ

สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564) ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 2562 2563 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ด้านโครงสร้าง 1. ขอจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นหน่วยงานที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงานโดยได้จัดตั้งหน่วยงานภายในมาแล้ว 2. ขอจัดตั้งสำนักงานรับรองความรู้ความสามารถเป็นหน่วยงานที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงานโดยได้จัดตั้งหน่วยงานภายในมาแล้ว 3. ขอจัดตั้งสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 1 - 25 เป็นหน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมิภาคเพื่อรองรับงานบริการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 4. ขอจัดตั้งสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 52 แห่ง เป็นหน่วยงานที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงานโดยได้จัดตั้งหน่วยงานภายในมาแล้ว และขอจัดตั้งเป็นหน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมิภาคเพื่อรองรับงานบริการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต  

สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564) ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 2562 2563 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ด้านกระบวนงาน ภารกิจ 1 ภารกิจพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงาน 1. พัฒนาระบบ e-testing ให้ครอบคลุมมาตรฐานทุกสาขา 2. วิเคราะห์สาขาอาชีพที่เอกชนมีความพร้อมเป็นผู้ดำเนินการทดสอบแทนหน่วยงานกรม (Big Change) ภารกิจ 2 : ภารกิจฝึกอบรมฝีมือแรงงาน - พัฒนาระบบรูปแบบการฝึก โดยใช้ระบบบริหารการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ CMI ภายใต้รูปแบบการฝึกตามความสามารถ CBT ภารกิจ 3 : ภารกิจส่งเสริมสถานประกอบกิจการ 1. วางระบบการยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน กิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) 2. วางระบบการยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) และ นำระบบ e-Payment มาใช้ในการชำระเงินสมทบกองทุน 3. Outsource ให้หน่วยงานเอกชนที่ได้รับการยอมรับเป็นผู้ดำเนินการรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายฯ แต่กรมเป็นผู้อนุมัติค่าใช้จ่าย (Big Change)  

สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564) ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 2562 2563 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ด้านกระบวนงาน 4. พัฒนาและขยายระบบ e-Service การยื่นขอรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ให้ครอบคลุมทุกประเภทการฝึก (ปัจจุบันยื่นผ่านระบบ e-Serviceได้เฉพาะการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ) ในรูปแบบของwebsite/mobile application พัฒนากระบวนการตั้งแต่ต้นกระบวนการจนสิ้นสุดกระบวนการ 5. วางแนวทางในการกำหนดกรอบอัตราค่าใช้จ่ายในการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ กรณีผู้ประกอบกิจการเป็นผู้จัดฝึกอบรมเอง   ด้านกฎหมาย - ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับกระบวนการทำงานที่ปรับเปลี่ยนในอนาคต

สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564) ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.3 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 2562 2563 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ด้านบุคลากร 1. พัฒนาวิทยากรต้นแบบให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ส่งเสริมให้มีวิทยากรต้นแบบให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน 2. พัฒนาผู้ทำหน้าที่ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน 3. พัฒนาบุคลากรผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ประเมินความรู้ความสามารถเพื่อรองรับการขยายสาขาอาชีพที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะในอนาคต