การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ทำไมจึงต้องมีการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ การอ่าน การค้นคว้า ทำให้วิทยาการเจริญขึ้น สาขาวิชาต่างๆขยายออกไป การผลิตมีคุณภาพดี สนองความต้องการของชุมชนทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ตรงกับความต้องการทั้งในด้านเนื้อหา ประเภท และรูปแบบ มีปริมาณเพียงพอกับจำนวนการใช้ พื้นที่ในการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศมีจำกัด งบประมาณที่ได้รับมีจำกัด
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์คุณค่าทรัพยากรสารสนเทศ การศึกษาปริมาณของทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การคัดทรัพยากรสารสนเทศออก การส่งเสริมการอ่าน
การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ เป็นงานสำคัญมาอย่างหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ผู้รับผิดชอบงานด้านนี้จะต้องพิจารณาเลือกเฉพาะทรัพยากรที่มีคุณค่า ตรงกับความสนใจ และความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด
ปัจจัยที่ทำให้ต้องมีการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ คุณภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรที่มีอยู่สามารถใช้เป็นมาตรฐานในการวัดคุณค่าของศูนย์สารสนเทศ/ห้องสมุด/แหล่งบริการสารสนเทศ นโยบายของศูนย์สารสนเทศ/ห้องสมุด/แหล่งบริการสารสนเทศ
ผู้ใช้จะเป็นตัวกำหนดในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ รสนิยมในการอ่าน งบประมาณ
ปรัชญาทางบรรณารักษศาสตร์ ของ ดร.รังกานาธาน หนังสือมีไว้ใช้ประโยชน์ (books are for use) ผู้อ่านแต่ละคนมีหนังสือที่ตนจะอ่าน (every reader his book) หนังสือทุกเล่มมีผู้อ่าน (every book its reader)
ปรัชญาทางบรรณารักษศาสตร์ (ต่อ) ประหยัดเวลาผู้อ่าน (save the time of the reader) ห้องสมุดเป็นสิ่งที่มีชีวิตเติบโตได้ (a library is a growing organ)
สิ่งที่ต้องทำในการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ศึกษาการใช้ทรัพยากรของผู้ใช้ เลือกตามนโยบายที่กำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร กำหนดวิธีปฏิบัติในการเลือก
ศึกษาการใช้ทรัพยากร ศึกษาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศของผู้ใช้ สถาบัน และบุคคลอื่นๆ วิธีการศึกษาการใช้ห้องสมุด ประเด็นที่ศึกษา - วัตถุประสงค์ในการใช้สื่อสิ่งพิมพ์หรือวัสดุการอ่านอื่นๆ - ความพอใจในการใช้ห้องสมุด
เลือกตามนโยบายที่กำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ใช้งบประมาณได้อย่างคุ้มค่า ผู้ให้บริการ/ผู้ใช้บริการ และผู้เกี่ยวข้อง เข้าใจขอบเขตของทรัพยากรที่มีอยู่และจะจัดหาใหม่ในเรื่องสาขาวิชา ประเภทรูปแบบของการบันทึก จำนวนซ้ำในการจัดหา ทำให้ฝ่ายจัดหามีแนวทางในการปฏิบัติงาน เช่น สาขาวิชาใดมีความสำคัญเป็นอันดับแรกในการจัดหา ความจำเป็นในการใช้ทรัพยากรนั้นๆ
เพื่อให้งานไม่หยุดชะงักในกรณีที่มีการเปลี่ยนผู้ทำหน้าที่ในการจัดหา/คัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ใช้เป็นหลักฐานในการดำเนินงาน ใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเมื่อมีปัญหา เพื่อให้เกิดความเข้าใจระว่าผู้ใช้กับบรรณารักษ์ เพื่อให้สมาชิกเข้าใจถึงวิธีการใช้ห้องสมุด