การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment นายณพงศ์ธวัช โพธิกิจ ผู้บริหารส่วน ฝ่ายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 30 กันยายน 2559
หัวข้อการบรรยาย ภาพรวมการชำระเงินในปัจจุบัน และ แนวทาง การส่งเสริมและพัฒนาระบบการชำระเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment โครงการที่ 1 ระบบพร้อมเพย์ โครงการที่ 2 การขยายการใช้บัตร โครงการที่ 3 ระบบภาษีและเอกสาร ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โครงการที่ 4 e-Payment ภาครัฐ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ 1. ภาพรวมการชำระเงินในปัจจุบัน รูปแบบการชำระเงิน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ ใช้เงินสด เบิกเงินสดจากตู้เอทีเอ็ม สาขาธนาคาร เช็ค บัตรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น บัตรเดบิต บัตรเครดิต ความสะดวก ความปลอดภัย ต้นทุน ไม่มีทางเลือกอื่น
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนา ระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ประสิทธิภาพต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ลดต้นทุนรวมและการบริหารเงินสด ความปลอดภัย ความรู้ความเข้าใจของประชาชนและ การเปลี่ยนพฤติกรรม การกำกับดูแลผู้ให้บริการ ค่าธรรมเนียมลดลง การรักษาข้อมูลส่วนบุคคล
2. แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ประชาชน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ การใช้บัตรเดบิต การจ่ายสวัสดิการ และระบบภาษีทาง อิเล็กทรอนิกส์
โครงการที่ 1 ระบบพร้อมเพย์ : การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ประโยชน์ ภาคประชาชน เพิ่มทางเลือกและความสะดวกในการโอนและรับเงินให้ประชาชน ค่าบริการถูกลงกว่าบริการโอนเงินแบบเดิม ภาคธุรกิจ เพิ่มความสะดวกในการทำธุรกิจ (ease of doing business) และให้บริการลูกค้า ภาครัฐ ลดภาระและต้นทุนในการบริหารจัดการและพิมพ์ธนบัตรของประเทศ ดูแลประชาชนด้านสวัสดิการโดยจ่ายเงินผ่านช่องทางพร้อมเพย์
โครงการที่ 2 : การขยายการใช้บัตร วัตถุประสงค์โครงการ การพัฒนาบริการและโครงสร้างพื้นฐานการใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์อย่างครบวงจร เป็นทางเลือกแทนการใช้เงินสด ในภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ กระจายอุปกรณ์รับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ทั่วทั้งประเทศ จำนวนเครื่อง EDC การกระจายตัวของเครื่อง EDC การใช้บัตรซื้อสินค้าแทนเงินสด จำนวน EDC ต่อประชากรของไทย น้อยกว่าประเทศพัฒนาแล้ว 4 - 5 เท่าตัว เครื่อง EDC ในไทยส่วนใหญ่อยู่ในกรุงเทพฯ แม้ไทยจะมีบัตรเดบิต 47 ล้านใบ แต่ยังมีการใช้บัตรซื้อสินค้าแทนเงินสดน้อย จำนวนเครื่อง EDC ต่อประชากร 1 ล้านคน (เครื่อง) สัดส่วนเครื่อง EDC แยกตามภูมิภาค (ร้อยละ) ปริมาณการใช้บัตรเดบิตรูดซื้อสินค้าผ่านเครื่อง EDC (จำนวนครั้ง/ คน/ ปี) 46.9 % 7.9% 24.8% 9.8% 10.7% Source: BIS, Bank Negara Malaysia and Bank of Thailand
โครงการที่ 3 ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ บูรณาการระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ ลดภาระการจัดทำและนำส่งเอกสาร อำนวยความสะดวกในการชำระภาษี โครงการที่ 4 e-Payment ภาครัฐ บูรณาการฐานข้อมูลและการจ่ายสวัสดิการภาครัฐ เพื่อให้มี ความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพ การรับจ่ายเงินภาครัฐด้วย e-Payment
เป้าหมายและประโยชน์ แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ผู้มีรายได้น้อยได้รับสวัสดิการและความช่วยเหลือถูกต้อง รวดเร็ว ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เข้าถึงบริการทางการเงินขั้นพื้นฐาน (ฝากถอนโอนชำระเงิน) ได้สะดวก ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั่วถึง โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล แม้อยู่ในพื้นทีห่างไกลยังสามารถใช้บัตรซื้อสินค้าได้ ไม่ต้องพกเงินสด ชีวิตสะดวก ปลอดภัยไม่ต่างกับคนในเมือง ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ ระบบชำระเงิน e-Payment มีฐานข้อมูลผู้มีรายได้น้อยสามารถให้ ความช่วยเหลือได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ไม่รั่วไหล การรับจ่ายเงินภาครัฐมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ลดโอกาสทุจริต เพิ่มประสิทธิภาพในระบบภาษี รับจ่ายเงินได้สะดวก ต้นทุนต่ำ ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มความสะดวกในการทำธุรกิจ (ease of doing business) และให้บริการลูกค้า ลดภาระการจัดการเอกสารเกี่ยวกับภาษี โดยใช้ระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์
ขอบคุณครับ