เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
Advertisements

ความเป็นมา การอ่านเป็นการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ตามอัธยาศัยหรือตาม ความสนใจจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุด ศูนย์การเรียนรู้ เป็นต้น ซึ่งผู้อ่านจะต้องมีความสนใจที่จะเข้ามา.
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
การจัดการศึกษาในโรงเรียนท้องถิ่น (การจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน)
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
โครงการโรงเรียนคาร์บอนต่ำ (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่โรงเรียน)
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
Smart kids by smart breastfeeding
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
การใช้ Big Data และ Artificial Intelligence (AI) ในงานสร้างสุขภาพ
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
ทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล
หนังสือ “วารสารศาสตร์เบื้องต้น:ปรัชญาและแนวคิด
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ความสำคัญและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการดำเนินงาน โครงการ กองทุนแม่ของแผ่นดิน
การบริการพื้นฐานของห้องสมุด
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเด็กและผู้สูงอายุ
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
ประธานมูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
PA Mother & Child Health
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย -ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย เป้าหมาย : ร้อยละ 85 -ร้อยละของเด็กอายุ 9,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการ คัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) เป้าหมาย : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 -ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี เป้าหมาย : ร้อยละ 54

จุดเน้น tEMPLATE คำนิยาม : พัฒนาการสมวัย , สูงดีสมส่วน , มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย วิธีจัดเก็บข้อมูล :บันทึกข้อมูลในโปรแกรมหลักของสถานบริการ ส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม ผ่านระบบรายงาน HDC รายการข้อมูล/สูตรคำนวณ : พัฒนาการเด็ก สูงดีสมส่วนและส่วนสูง เฉลี่ยที่อายุ 5 ปี และ เด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เกณฑ์การประเมิน: รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561)

เกณฑ์การประเมิน: ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตต. 60-กพ เกณฑ์การประเมิน: ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตต. 60-กพ. 61) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1 ทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังสถานการณ์เป็นรายจังหวัดและระดับเขตในประเด็นพัฒนาการ สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (0.5) มีแผนการขับเคลื่อนส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ในระดับตำบลโดยผ่านกลไกระดับพื้นที่ เช่น คณะอนุกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด/กทม. คณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (คชอ. District Health Board) (0.5) - สรุปสถานการณ์/รายงานการประชุม - มีแผนการขับเคลื่อนส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ในระดับพื้นที่ 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้มีองค์ความรู้และทักษะในเรื่อง (0.5) มหัศจรรย์ 1,000 วันฯ , ตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี , พรบ.ควบคุมการส่งเสริม การตลาดฯ การจัดการระบบสุขาภิบาลฯ สำรวจภาวะโภชนาการและพฤติกรรมสุขภาพในสตรีและเด็กปฐมวัย (0.5) - สรุปการประชุม - ภาพถ่ายการประชุม/รณรงค์ 3 สื่อสารประชาสัมพันธ์องค์ความรู้และแนวทางปฏิบัติฯ (0.5) กำกับติดตาม/เยี่ยมเสริมพลังพื้นที่เป้าหมาย (0.5) - หลักฐานการสื่อสารเผยแพร่ ฯ - รายงานการกำกับ ติดตามฯ

ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 4 จำนวนตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ที่มีการดำเนินงานครบตามเกณฑ์ (กระบวนการ PDCA) จำนวน 552 ตำบล (0.25) ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีการประกาศนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต และมีการดำเนินงานตามนโยบาย (0.25) เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยร้อยละ 20 (0.25) ความครอบคลุมการคัดกรองพัฒนาการเด็กอย่างน้อยร้อยละ 75 (0.25) 1 - ข้อมูล HDC - รายงานการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วันฯและตำบลส่งเสริมเด็กฯ 5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาสมวัย (0.3) ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) (0.2) ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ปีงบประมาณ 2561 แยกตามรายเขต (0.5)

เกณฑ์การประเมิน: ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีค. - กค เกณฑ์การประเมิน: ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีค. - กค. 61) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1 ขับเคลื่อนส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ในระดับตำบลโดยผ่านคณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (คชอ. District Health Board) (0.5) สื่อสารประชาสัมพันธ์องค์ความรู้และแนวทางปฏิบัติในเรื่องสูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย เพื่อให้เจ้าหน้าที่และประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และนำไปปฏิบัติได้ (0.5) - สื่อสารผ่านช่องทาง social media และ Application - หนังสือราชการ - แผนกำกับติดตาม/เยี่ยมเสริมลัง - รายงานผลการติดตามงาน - ภาพถ่ายกิจกรรม 2 เสริมสร้างศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่และบุคลากรสาธารณสุขในระดับพื้นที่ เพื่อบังคับใช้ พรบ. milk code (0.25) มีระบบเฝ้าระวังและรายงานการละเมิด พรบ. Milk code (0.25) ขับเคลื่อนการใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ. 2560 (0.5) -หลักฐานการเข้าร่วมประชุม/วิทยากร 3 เยี่ยมเสริมพลังพื้นที่เป้าหมาย (0.25) รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานและการติดตามงาน ในพื้นที่ (0.25) สำรวจภาวะโภชนาการและพฤติกรรมสุขภาพในสตรีและเด็กปฐมวัยและ วิเคราะห์ข้อมูล (0.5) - มีแผนเยี่ยมเสริมพลัง -รายงานผลการดำเนินงานในพื้นที่ -ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของเขต

ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 4 จำนวนตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ที่มีการดำเนินงานตามครบตามเกณฑ์ (กระบวนการ PDCA) แห่งใหม่ (ร้อยละ 10 ของตำบลทั้งหมด) (0.20) ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีการประกาศนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต และมีการดำเนินงานตามนโยบาย (0.20) จำนวนอำเภอที่ขับเคลื่อนงานส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ในระดับตำบลโดยผ่านคณะกรรมการคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ (District Health Board) (0.20) เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยร้อยละ 40 (0.20) ความครอบคลุมการคัดกรองพัฒนาการเด็กอย่างน้อยร้อยละ 75 (0.20) 1 - ข้อมูล HDC - รายงานการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วันฯและตำบลส่งเสริมเด็กฯ 5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาสมวัย (0.3) ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) (0.2) ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ปีงบประมาณ 2561 แยกตามรายเขต (0.5)

เกณฑ์การประเมิน: ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ ชายขอบ และแรงงานข้ามชาติ รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตต. 60-กพ. 61) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1 ศึกษาองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี เพิ่มเติมอีก 3 ด้าน - ผลการศึกษาฯ 2 พัฒนานวัตกรรมการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5ปี กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง ชาวไทยภูเขา เผ่ากะเหรี่ยง - ภาพถ่ายสรุปกิจกรรมการดำเนินงาน 3 ทดสอบ (try Out) นวัตกรรมการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี - สรุปผลการทดสอบฯ 4 จัดเวทีประชุมถ่ายทอดนวัตกรรมการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี - สรุปการจัดเวทีฯ 5 ผลิตคู่มือการใช้ (Hand Book) นวัตกรรมการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี - ไฟล์ข้อมูลคู่มือฯ

เกณฑ์การประเมิน: ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ ชายขอบ และแรงงานข้ามชาติ รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีค.-กค. 61) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1 - 2 3 4 ส่งมอบนวัตกรรมการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี กลุ่มชาติพันธุ์ บนพื้นที่สูงชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ภาพถ่ายและสรุปการทำกิจกรรม 5 ประเมินประสิทธิผล และประสิทธิภาพของนวัตกรรมการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง - สรุปผลการประเมินฯ

เกณฑ์การประเมิน: ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศรอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตต. 60-กพ. 61) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1 - ทบทวนและวิเคราะห์สถานการณ์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี - มีการจัดทำแผน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี -สรุปผลการวิเคราะห์สถานการณ์ -แผนปฏิบัติการฯ 2 - ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคีเครือข่าย - มีการถ่ายทอดกิจกรรมสำคัญตามแผนฯ ให้ครอบคลุมผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ -ภาพกิจกรรมและสรุปผลการดำเนินงาน 3 บูรณาการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ เช่น การให้ความรู้แก่ครูพี่เลี้ยงในศูนย์เด็กเล็ก/ พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูในคลินิกฝากครรภ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพของศูนย์อนามัยที่ 1 ฯ 4 ร้อยละ 5 ของเด็กในศูนย์เด็กเล็กต้นแบบและพื้นที่ดำเนินการวิจัยฯ มีพัฒนาการสมวัย -สรุปผลการดำเนินงาน 5 ร้อยละ 20 ของเด็กในศูนย์เด็กเล็กต้นแบบและพื้นที่ดำเนินการวิจัยฯ มีพัฒนาการสมวัย

เกณฑ์การประเมิน: ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศรอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีค-กค. 61) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1 ร้อยละ 50 ของเด็กในศูนย์เด็กเล็กต้นแบบและพื้นที่ดำเนินการวิจัยฯ มีพัฒนาการสมวัย -สรุปผลการดำเนินงาน 2 ร้อยละ 70 ของเด็กในศูนย์เด็กเล็กต้นแบบและพื้นที่ดำเนินการวิจัยฯ มีพัฒนาการสมวัย 3 ร้อยละ 80 ของเด็กในศูนย์เด็กเล็กต้นแบบและพื้นที่ดำเนินการวิจัยฯ มีพัฒนาการสมวัย 4 ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์เด็กเล็กต้นแบบและพื้นที่ดำเนินการวิจัยฯ มีพัฒนาการสมวัย เด็กในศูนย์เด็กเล็กต้นแบบมีพัฒนาการสมวัยแบบองค์รวม จำนวน 1 แห่ง 5 เด็กในศูนย์เด็กเล็กต้นแบบมีพัฒนาการสมวัยแบบองค์รวม จำนวน 2 แห่ง

เกณฑ์การประเมิน:สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมืองรอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตต. 60-กพ. 61) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1 ทบทวนและวิเคราะห์สถานการณ์พัฒนาการเด็ก โภชนาการ และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ฯ จัดทำแผนพัฒนารูปแบบเพื่อพัฒนานวัตกรรมฯ - สรุปสถานการณ์ /รายงานการประชุม - แผนงานโครงการ และแผนพัฒนารูปแบบของคลินิกพัฒนานวัตกรรมสุขภาพเด็ก สสม. 2 ศึกษาบริบทพื้นที่ชุมชน / ศูนย์เด็กเล็กเพื่อพัฒนาชุมชนต้นแบบส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย 3 แห่ง คัดเลือกชุมชนต้นแบบส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัยที่สมัครใจ - รายงานการศึกษาบริบทพื้นที่ - รายชื่อชุมชนต้นแบบและคณะกรรมการชุมชน - รายงานการประชุม 3 พัฒนาศักยภาพวิทยากรกระบวนการในชุมชน มีการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ แนวทางปฏิบัติมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต การส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย แก่ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในชุมชนต้นแบบ - เอกสารการประชุม -ทำเนียบรายชื่อวิทยากรฯ -ภาพถ่ายกิจกรรม - รายงานการประชุมร่วม - สื่อประชาสัมพันธ์

เกณฑ์การประเมิน:สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมืองรอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตต. 60-กพ. 61) (ต่อ) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 4 เยี่ยมเสริมพลังและสนับสนุนวิชาการแก่ชุมชนต้นแบบส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ชุมชนต้นแบบส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย มีการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต 1 - รายงานสรุปการเยี่ยมเสริมพลัง - รายงานผลการดำเนินงานมหัศจรรย์1,000 วันแรกของชีวิต - สรุปบทเรียนการดำเนินงานชุมชนต้นแบบ 5 ต้นแบบบริการส่งเสริมความรอบรู้ผู้ปกครองด้วยโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษา ต้นแบบบริการส่งเสริมความรอบรู้ผู้ปกครองด้วยการเฝ้าระวังภาวะโภชนาเด็กปฐมวัย - แผนงานโครงการ 2 โครงการ

เกณฑ์การประเมิน:สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมืองรอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีค-กค. 61) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 1 สื่อสารประชาสัมพันธ์พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560 ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การถ่ายทอดผ่านการประชุมแก่ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คลินิกชุมชนอบอุ่น โรงพยาบาลเอกชน ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. สสม. กศน. พัฒนาชุมชน สนับสนุนการใช้มาตรฐาน ศดล. คุณภาพแห่งชาติ - การสื่อสารผ่านSocial media Application - หนังสือราชการ 2 ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมเฝ้าระวังและรายงานการละเมิดพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560 ในระดับพื้นที่ - หลักฐานการเข้าร่วมประชุม/วิทยากร - ข้อมูลการใช้ Application - รูปถ่ายกิจกรรม - รายงานการละเมินพรบ.ฯ 3 สำรวจข้อมูล ศดล. ขนาดเล็กในชุมชนที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน ในพื้นที่ กทม. เชื่อมโยงฐานข้อมูล ศดล. สังกัดภาครัฐและเอกชนเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ ในพื้นที่ กทม. - หนังสือราชการ รูปภาพ - สรุปการประชุม - ฐานข้อมูลศดล. ทุกสังกัด

เกณฑ์การประเมิน:สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมืองรอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีค-กค. 61) (ต่อ) ระดับชั้น ความสำเร็จ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณา 4 มีต้นแบบการสร้างความรอบรู้ในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อพัฒนาการสมวัย ในคลินิกนมแม่ สสม. 1 - รายงานผลการดำเนินงาน 5 ต้นแบบบริการส่งเสริมความรอบรู้ผู้ปกครองด้วยโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษา สสม. ต้นแบบบริการส่งเสริมความรอบรู้ผู้ปกครองด้วยการเฝ้าระวังภาวะโภชนาเด็กปฐมวัย สสม. ชุมชนต้นแบบส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย - สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาต้นแบบ - ภาพกิจกรรม - สื่อนวัตกรรม