ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
Advertisements

สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
โครงงานฝึกปฏิบัติงาน “ ” นาย / นางสาว รหัสประจำตัว กลุ่มเรียน ……………
ส่วนประสมการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
หลักการตลาด บทที่ 1 บทนำ
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทอ่อน
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
23 – 24 กรกฏาคม พ. ศ ณ ห้องปฏิบัติการสาขาวิชาสถิติประยุกต์ อาคาร 26 (26201 B)
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
เงินเฟ้อ Inflation.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
รายงาน การปฏิวัติอุตสาหกรรม
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 6 การปันส่วนต้นทุนและต้นทุนฐานกิจกรรม
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Marketing.
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
Integrated Information Technology
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
หน่วยที่ 4 ตลาดเป้าหมาย.
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
Supply Chain Management
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price) บทที่ 2 ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price) 27/02/62

Demand “อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ปริมาณสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆกันของสินค้าชนิดนั้นในขณะใดขณะหนึ่ง โดยสมมติให้ปัจจัยอื่นๆที่กำหนดอุปสงค์คงที่” หมายเหตุ : Demand => Want + Purchasing Power 27/02/62

สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของฟังก์ชันได้ Demand Function ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆหลายปัจจัย ได้แก่ ราคาสินค้า รายได้ของผู้บริโภค ราคาของสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รสนิยมของผู้บริโภค จำนวนผู้บริโภค การคาดคะเนเหตุการณ์ต่างๆในอนาคต ฯลฯ สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของฟังก์ชันได้ Qx = f ( Px , Y , Py , T , N , Ep,… ) 27/02/62

ชนิดของอุปสงค์ อุปสงค์ต่อราคา *** อุปสงค์ต่อรายได้ อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง 27/02/62

กฎของอุปสงค์ (Law 0f Demand) “ความต้องการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในขณะใดขณะหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกับราคาสินค้านั้น” P => Q 27/02/62

ตารางดีมานด์ ราคาส้มเขียวหวาน (บาทต่อกิโลกรัม) ปริมาณซื้อ (กิโลกรัม) จุด 15 14 13 12 11 10 1 2 3 4 5 6 A B C D E F 27/02/62

เส้นดีมานด์ A B C D E F Dx ราคา (บาทต่อก.ก.) ปริมาณ (ก.ก.) 15 14 13 12 11 F 10 Dx ปริมาณ (ก.ก.) 1 2 3 4 5 6 27/02/62

ความชันของเส้น Demand (กรณีเส้นตรง) P A P2 C B P1 D1 Q Q2 Q1 Slope = P/Q = P2-P1 / Q2-Q1 = -AC /CB 27/02/62

ความชันของเส้น Demand (กรณีเส้นโค้ง) P R P2 S T D2 P1 Q Q2 Q1 Slope = P/Q = P2-P1 / Q2-Q1 = -RS /ST 27/02/62

ดีมานด์ของแต่ละบุคคลและดีมานด์ของตลาด ราคาส้มเขียวหวาน (บาทต่อกิโลกรัม) 15 14 13 12 11 10 ปริมาณซื้อนาย ก. (กิโลกรัม) 1 2 3 4 5 6 ปริมาณซื้อนาย ข. (กิโลกรัม) 2 3 4 5 6 7 ปริมาณซื้อของตลาด (กิโลกรัม) 3 (จุด A) 5 (จุด B) 7 (จุด C) 9 (จุด D) 11 (จุด E) 13 (จุด F) 27/02/62

เส้นดีมานด์นาย ก. นาย ข.และตลาด ราคา (บาทต่อก.ก.) A 15 B 14 C 13 D 12 E 11 F 10 D2 Dm D1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ปริมาณ (ก.ก.) D1 = ดีมานด์ของนาย ก. D2 = ดีมานด์ของนาย ก. Dm = ดีมานด์ของตลาด 27/02/62

การเปลี่ยนแปลงในเส้น Demand (Change in Quantity Demanded) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่ปัจจัยอื่นๆที่กำหนดดีมานด์คงที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าที่เกิดขึ้นบนเส้นดีมานด์เส้นเดิม 27/02/62

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงในเส้นดีมานด์ P B P2 A P1 C P3 D Q Q2 Q1 Q3 27/02/62

การเปลี่ยนแปลงของเส้น Demand (Change or Shift in Demand) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นๆที่กำหนดดีมานด์ ในขณะที่ราคาสินค้าคงเดิม เป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าในลักษณะของการเคลื่อนย้ายเส้นดีมานด์ 27/02/62

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของเส้นดีมานด์ P B A C P0 D1 D2 D0 Q Q1 Q0 Q2 27/02/62

ซัพพลาย (Supply) หมายถึง ปริมาณสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตเต็มใจจะขาย ณ ระดับราคาต่างๆของสินค้าชนิดนั้น ในขณะใดขณะหนึ่ง โดยสมมติให้ปัจจัยอื่นๆที่กำหนดซัพพลายคงที่ ปัจจัยอื่นที่กำหนดซัพพลาย ได้แก่ ต้นทุนการผลิต เทคโนโลยีการผลิต สภาพดินฟ้าอากาศ จำนวนผู้ผลิต การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต ฯลฯ 27/02/62

กฎของซัพพลาย (Law of Supply) เป็นกฎที่อธิบายพฤติกรรมของผู้ผลิตในการแสวงหากำไรสูงสุด กฎของซัพพลายกล่าวไว้ว่า “ปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจจะนำออกมาขายในขณะใดขณะหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกันกับราคาสินค้านั้น” P => Q 27/02/62

ตารางซัพพลาย ราคาส้มเขียวหวาน (บาทต่อกิโลกรัม) ปริมาณขาย (กิโลกรัม) จุด 15 14 13 12 11 10 6 5 4 3 2 1 A B C D E F 27/02/62

เส้นซัพพลาย Sx A B C D E F ราคา (บาทต่อก.ก.) ปริมาณ (ก.ก.) 15 14 13 12 11 E 10 F ปริมาณ (ก.ก.) 1 2 3 4 5 6 27/02/62

ซัพพลายของแต่ละบุคคลและซัพพลายของตลาด ราคาส้มเขียวหวาน (บาทต่อกิโลกรัม) 15 14 13 12 11 10 ปริมาณขายนาย M (กิโลกรัม) 6 5 4 3 2 1 ปริมาณขายนาย N (กิโลกรัม) 9 8 7 6 5 4 ปริมาณขายของตลาด (กิโลกรัม) 15 13 11 9 7 5 27/02/62

เส้นซัพพลายของนาย M นาย N และตลาด ราคา (บาทต่อก.ก.) S1 S2 Sm 15 14 13 12 11 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 ปริมาณ (ก.ก.) S1 = ซัพพลายของนาย M S2 = ซัพพลายของนาย N Sm = ซัพพลายของตลาด 27/02/62

การเปลี่ยนแปลงในเส้น Supply (Change in Quantity Supplied) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการขายสินค้า อันเนื่องมาจากราคาสินค้านั้นเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่ปัจจัยอื่นๆที่กำหนดซัพพลายคงที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการขายสินค้าที่เกิดขึ้นบนเส้นซัพพลายเส้นเดิม 27/02/62

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงในเส้นซัพพลาย P S B P2 A P1 C P3 Q Q2 Q1 Q3 27/02/62

การเปลี่ยนแปลงของเส้น Supply (Change or Shift in Supply) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการขายสินค้าของผู้ผลิต อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นๆที่กำหนดซัพพลาย ในขณะที่ราคาสินค้าคงเดิม เป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการขายสินค้าในลักษณะของการเคลื่อนย้ายเส้นซัพพลาย 27/02/62

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของเส้นซัพพลาย P S1 S0 S2 P0 B A C Q Q1 Q0 Q2 27/02/62

ราคาตลาด (Market Price) “ราคาตลาด(Equilibrium Price) หมายถึง ราคาสินค้าที่ทำให้ปริมาณความต้องการซื้อของผู้บริโภคเท่ากับความต้องการขายของผู้ผลิต” P S Surplus 13 12 E 11 Shortage D Q 7 9 11 27/02/62

การเปลี่ยนแปลงราคาดุลยภาพ กรณีที่ดีมานด์เปลี่ยนแปลงในขณะที่ซัพพลายคงที่ กรณีที่ซัพพลายเปลี่ยนแปลงในขณะที่ดีมานด์คงที่ กรณีที่ทั้งดีมานด์และซัพพลายเปลี่ยนแปลงในขณะเดียวกัน 27/02/62

กรณีที่ดีมานด์เปลี่ยนแปลงในขณะที่ซัพพลายคงที่ P P S S P1 P0 P0 P1 D1 D0 D0 D1 Q Q Q0 Q1 Q1 Q0 กรณีดีมานด์เพิ่มขึ้น กรณีดีมานด์ลดลง 27/02/62

กรณีที่ซัพพลายเปลี่ยนแปลงในขณะที่ดีมานด์คงที่ P P S1 S0 S0 S1 P1 P0 P0 P1 D D Q Q Q0 Q1 Q1 Q0 กรณีซัพพลายเพิ่มขึ้น กรณีซัพพลายลดลง 27/02/62